Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรชุลี อาชวอำรุง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-05-09T05:44:01Z-
dc.date.available2013-05-09T05:44:01Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30868-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานที่เหมาะสมในการประเมินสถาบันอุดมศึกษาไทย ทั้งในภาครัฐและเอกชน, เพื่อเป็นแนวทางในการรักษามาตรฐานความเป็นเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา, เพื่อเป็นแนวทางในการประเมินภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาทั้งทางด้านการบริหารงานหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนการสอน และการวางแผน ตลอดจนความสัมพันธ์กับสังคมและความก้าวหน้าทางวิชาการ โดยรูปแบบการวิจัย คือ การวิจัยเชิงบรรยาย เก็บข้อมูลโดยการศึกษาเอกสาร การเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม และสัมภาษณ์ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาทั่วทุกภาคในประเทศไทย ทั้งสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ผลการศึกษาพบว่า เกณฑ์หลักซึ่งแสดงว่ามีความสำคัญสูงสุด คือ ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ส่วนเกณฑ์หลักที่มีความสำคัญน้อยที่สุด คือ การจัดการและการบริหารด้านต่าง ๆ ทั้งนี้ อาจตีความได้ว่าในประเทศไทยเรายึดถือปรัชญาและวัตถุประสงค์เป็นสรณะในการจัดการอุดมศึกษา และไม่เน้นการจัดการและงานธุรการ อันเป็นเรื่องของธุรกิจ-
dc.description.abstractalternativeThis research’s objectives were to develop proper criteria that use to evaluate Thai Higher Education, both public university and private university, to use as guideline to keep standard of academic performance of universities, and to use as guideline to evaluate universities’ missions and to improve curriculum administration, planning for future of universities and build relationships from universities to social for the advance of academics. Research methodologies in this research are descriptive research, content analysis, questionnaires, and interview. The populations and samples is universities officer from all region of Thailand, both private and public universities. The results show that, the most importance criteria (has highest score) is philosophy and objectives and the lowest criteria or most less important is management and administrative. So, it can implies that in Thailand, philosophy and objectives are the core of higher education administration and not attend to management and administrative that is about business.-
dc.description.sponsorshipได้รับการสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ. 2527en
dc.format.extent9229652 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการประเมินผลทางการศึกษาen
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- ไทย -- การบริหารen
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- ไทย -- การประเมินen
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- ไทย -- การประเมินen
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- ไทย -- การบริหารen
dc.titleเกณฑ์ประเมินสถาบันอุดมศึกษาไทยen
dc.title.alternativeEvaluative criteria for Thai higher education institutionen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorapornchu@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pornchulee_ac_2527.pdf9.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.