Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30902
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนทร บุญญาธิการ-
dc.contributor.authorกฤษฎา กาญจนรัชต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-14T02:41:36Z-
dc.date.available2013-05-14T02:41:36Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30902-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractจากการศึกษาพื้นรูปแบบเดิมที่ใช้กันอยู่แพร่หลาย พบว่า การออกแบบและก่อสร้างพื้นขนาดของโครงสร้างพื้นจะมีขนาดค่อนข้างใหญ่ ซึ่งจะส่งผลต่อคานและโครงสร้างอาคารอื่น ๆ ทั้งระบบและจะส่งผลกระทบต่อน้ำหนักอาคาร ระยะเวลาการก่อสร้าง งบประมาณการก่อสร้าง และพลังงานที่ใช้ในอาคาร ผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิดในการออกแบบพื้นรูปแบบใหม่เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยได้นำหลักการของทฤษฎีโครงสร้าง ทฤษฎีการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และเทคนิคการก่อสร้าง มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบพื้นและคานรูปแบบใหม่ โดยที่ผลการวิจัยการออกแบบพื้นรูปแบบใหม่มีความหนา 0.05 ม. ความกว้างตั้งแต่ 1.20-3.60 ม. ยาว 1.00-10.00 ม. โดยมีกี่ออกแบบเป็นสองแบบ ได้แก่ แบบที่หนึ่ง คือ พื้นมีความมั่นคงและคานก็มีความลึกคงที่ตลอดความยาว และแบบที่สอง พื้นก็มีความหนาคงที่แต่คานมีความลึกที่แปรผันตามความยาวและพื้นที่รูปแบบเดิมที่นิยมใช้กันในปัจจุบันและการเปรียบเทียบพื้นรูปแบบใหม่ทั้งสองแบบและพื้นรูปแบบเดิม พบว่า 1) นักหนักพื้น ที่พื้นกว้าง 1.20 ม. พื้นรูปแบบใหม่ทั้ง 2 แบบ และพื้นรูปแบบเดิมมีน้ำหนักเท่ากัน ที่พื้นกว้าง 2.40 ม. พื้นรูปแบบใหม่ทั้ง 2 แบบ มีน้ำหนักน้อยกว่าพื้นรูปแบบเดิมถึง 228 ก.ก./ม. (37 %) ที่พิ้นกว้าง 3.60 ม. พื้นรูปแบบใหม่ทั้ง 2 แบบ มีน้ำหนักน้อยกว่าพื้นรูปแบบเดิมถึง 864 ก.ก./ม. (75%) 2) เวลาในการก้อสร้างที่พื้นว่าง 1.20 ม. พื้นรูปแบบใหม่แบบที่ 1 เสร็จเร็วกว่าแบบที่ เท่ากับ 0.43 วัน (8 %) และเสร็จเร็วกว่าพื้นรูปแบบเดิม เท่ากับ 4.55 วัน (88 %) ที่พื้นกว้าง 2.40 ม. พื้นรูปแบบใหม่แบบที่ 1 เสร็จเร็วกว่าแบบที่ 2 เท่ากับ 3.04 วัน (33 %) และเสร็จเร็วกว่าพื้นรูปแบบเดิม เท่ากับ 3.58 วัน (39 %) ที่พื้นกว้าง 3.60 ม. พื้นรูปแบบใหม่แบบที่ 1 เสร็จเร็วกว่าแบบที่ 2 เท่ากับ 1.16 วัน (9 %) และเสร็จเร็วกว่าพื้นรูปแบบเดิม เท่ากับ 4.08 วัน (30 %) 3) งบประมาณในการก่อสร้าง ที่พื้นกว้าง 1.20 ม. แบบที่ 1 งบประมาณน้อยกว่าพื้นแบบที่ 2 เท่ากับ 1,125 บาท (4.5 %) และน้อยกว่าพื้นแบบเดิมเท่ากับ 7,531 (28 %) ที่พื้นกว้าง 2.40 ม. แบบที่ 1 งบประมาณน้อยกว่าพื้นแบบที่ 2 เท่ากับ 4,524 บาท (909 %) และน้อยกว่าพื้นแบบเดิมเท่ากับ 901 บาท (2 %) ที่พื้นกว้าง 3.60 ม. แบบที่ 1 งบประมาณน้อยกว่าพื้นแบบที่ 2 เท่ากับ 2,943 บาท (4.1 %) และน้อยกว่าพื้นแบบเดิม เท่ากับ 2,919 บาท (4.2 %) 4) อุณหภูมิ พื้นที่ความหนาต่าง ๆ กัน มีโฟมด้านล่างจะทำให้อุณหภูมิที่ผิวด้านล่างเย็นกว่าผิวด้านบน เฉลี่ย 2.63 องศาเซลเซียส ที่ผิวบนของพื้นที่ความหนาต่าง ๆ จะมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 26.16 - 30.25 องศาเซลเซียส พื้นที่บุโฟมอยู่ใต้แผ่นพื้น จะทำให้ผิวบนของพื้นมีอุณหภูมิสูงกว่าแผ่นพื้นที่ไม่มีโฟม เฉลี่ยนอยู่ประมาณ 0.50 องศาเซลเซียสen
dc.description.abstractalternativeConventional concrete structure for beam and floor is common with 1.00-3.60 m. width and 1.00-10.00 m. length. Lt has a large size and huge dead load. Building codes also require L/25 thick for one way slab, beam parameter divided by 180, or L/10 for beam depth. Therefore, concrete structure has design influence factors as 1) building dead load, 2) construction time, 3) budget, and 4) energy use for both during construction and building operation. Ways to develop concrete structure in this study are: 1) structure design theory of shape, form, moment of inertia, shear, etc., 2) steel reinforce theory, 3) construction process and site supervision. The results showed that 0.05-meter-thick rib floor slab with 1.20 m. width and 1.00 to 10.00 m. length passes the required load and safety. Experiments conducted from single slab to 3 pieces combination. First, 0.05 m. thick and beam depth was fixed and second 0.05 m. thick was fixed while beam depth varies as common concrete design. With the live load and safety condition, the results are as follows: 1)1) The 0.05-meter-thick rib floor slab reduces 37% of dead load compared to conventional design ( double slab with ) while it reduces 75% of dead load in triple slab width. 2)Construction time can be reduced from 8 to 88% ( 0.43 to 4.55 days ) 3) Structural costs are decreased range from 4.1 to 28% 4) With EPS foam block, it reduces heat transfer and provide 2.63 C lower underneath 0.05-meter-thick rib floor slab.en
dc.format.extent5307091 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1365-
dc.subjectการออกแบบอย่างยั่งยืนen
dc.subjectสถาปัตยกรรมแบบยั่งยืนen
dc.subjectเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมen
dc.subjectพื้นen
dc.subjectอาคารอุตสาหกรรม -- พื้นen
dc.subjectพื้นคอนกรีต -- การออกแบบen
dc.titleโครงสร้างพื้นที่ตงถี่เพื่อประหยัดพลังงานen
dc.title.alternativeRib floor slab for energy savingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsoontorn@asia.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1365-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
krisadar_ka.pdf5.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.