Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30916
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | ธัญวิทย์ ศรีจันทร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-14T07:05:15Z | - |
dc.date.available | 2013-05-14T07:05:15Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30916 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาสถานภาพและความเปลี่ยนแปลงของสถานภาพทางวิทยาหน่วยคำ ของรูปแบบคำศัพท์ในภาษาไทยที่เป็นปฏิภาคกับกระบวนการเติมหน่วยคำเติมกลางในภาษาเขมร ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงปัจจุบัน โดยเปรียบเทียบความสัมพันธ์ทางเสียง หน้าที่ รวมถึงภาษาที่มาของคำศัพท์และคู่คำศัพท์ในภาษาไทย ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับการเติมหน่วยคำเติมกลางในภาษาเขมร จากเอกสารประเภทวรรณคดี 16 เรื่อง และจากคลังข้อมูลภาษาไทยแห่งชาติ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบคำศัพท์ในภาษาไทยที่เป็นปฏิภาคกับกระบวนการเติมหน่วยคำเติมกลางในภาษาเขมร ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงปัจจุบัน ไม่มีลักษณะของกระบวนการทางหน่วยคำ (morphological process) นั่นคือ ไม่มีความสม่ำเสมอ (regularity) และไม่มีผลิตภาพ (productivity) ในแง่ความสม่ำเสมอไม่พบความสัมพันธ์ทางเสียงและหน้าที่ที่แน่นอน ส่วนในแง่ผลิตภาพนั้นคำที่แสดงรูปแบบคำศัพท์เหล่านี้ เป็นคำที่มาจากภาษาเขมรเท่านั้น แสดงว่ารูปแบบคำศัพท์ไม่สามารถนำมาใช้สร้างคำใหม่ในภาษาไทยได้ จึงกล่าวได้รูปแบบคำศัพท์ในภาษาไทยที่เป็นปฏิภาคกับกระบวนการเติมหน่วยคำเติมกลางในภาษาเขมร ไม่ได้เป็นกระบวนทางหน่วยคำในภาษาไทย โดยไม่มีที่มาจากการยืมการสร้างคำด้วยการเติมหน่วยคำเติมกลางจากภาษาเขมร และไม่ใช่การเทียบแบบ แต่เกิดจากการยืมคำศัพท์จากภาษาเขมรมาเป็นจำนวนมาก | en |
dc.description.abstractalternative | To examine the morphological status of the lexical patterns in Thai that correspond to infixation processes in Khmer from the 13th century CE to the present. By comparing phonological and functional relations between words and word pairs showing lexical patterns resembling Khmer infixation, this study finds that the morphological status of the lexical patterns from the 13th century CE to the present do not show two important characteristics of morphological processes, namely regularity and productivity. With respect to regularity, no clear phonological and functional relations exist. As for productivity, vocabulary items showing the lexical patterns are all from Khmer, indicating that the patterns cannot productively apply to words in Thai. Therefore, this study shows that the lexical patterns corresponding to Khmer infixation are not morphological processes in Thai, neither morphological borrowing from Khmer nor analogy in Thai, the patterns are originated from Khmer lexical borrowing. | en |
dc.format.extent | 2218718 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1413 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ภาษาไทย -- คำและวลีภาษาต่างประเทศ -- ภาษาเขมร | en |
dc.subject | ภาษาไทย -- คำแผลง | en |
dc.subject | การสัมผัสภาษา | en |
dc.subject | ภาษา -- การสร้างคำใหม่ | en |
dc.subject | Thai language -- Foreign words and phrases -- Khmer language | en |
dc.subject | Languages in contact | en |
dc.subject | Language and languages -- Word formation | en |
dc.title | รูปแบบคำศัพท์ในภาษาไทยที่เป็นปฏิภาคกับกระบวนการสร้างคำในภาษาเขมร : การศึกษาข้ามสมัย | en |
dc.title.alternative | Lexical patterns in Thai corresponding to morphological processes in Khmer : a diachronic study | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ภาษาศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Pittayawat.P@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.1413 | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
thanyawit_ sr.pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.