Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30958
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา ปูรณโชติ-
dc.contributor.advisorพรรณราย ทรัพยะประภา-
dc.contributor.authorไพบูลย์ ใจชอบธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-16T06:05:53Z-
dc.date.available2013-05-16T06:05:53Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745776122-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30959-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาตัวประกอบที่สำคัญของการตระหนักรู้ในอาชีพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 1,880 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสำรวจการตระหนักรู้ในอาชีพซึ่งดัดแปลงมาจากแบบสำรวจ Vocational Awareness Index ของ ลอเรนซ์ อี เคอรี่ และ Work Value Inventory ของ โดนัล อี ซูเปอร์ เป็นมาตรฐานส่วนประมาณค่าซึ่งครอบคลุมกลุ่มตัวแปรที่ศึกษา 8 ด้าน คือ สังคมเศรษฐกิจ ครอบครัว ชุมชน-สิ่งแวดล้อม การศึกษา เพศ เชื้อชาติ สมรรถภาพทางกาย และค่านิยม มีข้อกระทงรวมทั้งสิ้น 88 ข้อ ได้วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ตัวประกอบโดยสกัดตัวประกอบภาพพจน์และหมุนแกนตัวประกอบแบบออโธกอนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ข้อค้นพบมีดังนี้ ตัวประกอบที่สำคัญของการตระหนักรู้ในอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 5 ตัวประกอบ คือ ค่านิยม เพื่อน ครอบครัว สังคม-เศรษฐกิจ และสมรรถภาพทางกาย โดยที่ตัวประกอบเหล่านี้สามารถอธิบายความแปรปรวนร่วมของการตระหนักรู้ในอาชีพได้ประมาณร้อยละ 25.4 และเมื่อแยกวิเคราะห์แต่ละระดับขั้น พบว่า 1. การตระหนักรู้ในอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีตัวประกอบที่สำคัญ 4 ตัวประกอบ ซึ่งสามารอธิบายความแปรปรวนร่วมของการตระหนักรู้ในอาชีพได้ประมาณร้อยละ 18.5 2. การตระหนักรู้ในอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีตัวประกอบที่สำคัญ 4 ตัวประกอบ ซึ่งสามารอธิบายความแปรปรวนร่วมของการตระหนักรู้ในอาชีพได้ประมาณร้อยละ 17.5 3. การตระหนักรู้ในอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีตัวประกอบที่สำคัญ 4 ตัวประกอบ ซึ่งสามารอธิบายความแปรปรวนร่วมของการตระหนักรู้ในอาชีพได้ประมาณร้อยละ 21.7-
dc.description.abstractalternativeThis research was designed to study the factors of vocational awareness of the upper secondary school students in Bangkok metropolis. The samples used for this research consisted of 1,880 upper secondary - school students. An inventory of 88 items covered 8 area of vocational awareness: socio-economic, familial, environmental-community, education, ethnic, sex, physical-capacity and value, which was adapted from the Vocational Awareness Index of Lawrence E. Currie and the Work Value Inventory of Donald E. Super was used for data collection. The factor analysis by the image factoring method with the varimax rotation of axis was used for data analysis. The findings were as follow: The vocational awareness of the upper secondary school students consisted of five important factors: value, friends, familial, socio-economic and physical-capacity which accounted for 25.4 percents of total variance. When it was analysed separately according to class levels, it had been found that. 1. The vocational awareness of the Matayomsuksa four students consisted of four important factors which accounted for 18.5 percents of total variance. 2. The vocational awareness of the Matayomsuksa five students consisted of four important factors which accounted for 17.5 percents of total variance. 3. The vocational awareness of the Matayomsuksa six students consisted of five important factors which accounted for 21.7 percents of total variance.-
dc.format.extent907978 bytes-
dc.format.extent911214 bytes-
dc.format.extent2402067 bytes-
dc.format.extent1275813 bytes-
dc.format.extent4548594 bytes-
dc.format.extent2688792 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการวิเคราะห์ตัวประกอบของการตระหนักรู้ในอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA factor analysis of vocational awareness of the upper secondary school students in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
paiboon_ja_front.pdf886.7 kBAdobe PDFView/Open
paiboon_ja_ch1.pdf889.86 kBAdobe PDFView/Open
paiboon_ja_ch2.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open
paiboon_ja_ch3.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
paiboon_ja_ch4.pdf4.44 MBAdobe PDFView/Open
paiboon_ja_back.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.