Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30971
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสังคม จงพิพัฒน์วณิชย์-
dc.contributor.authorไพบูลย์ วงศ์สกุลชื่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-16T07:40:28Z-
dc.date.available2013-05-16T07:40:28Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746366386-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30971-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะหาความชุกของภาวะท้องผูกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะท้องผูก ในเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปี รูปแบบของการศึกษาเป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ณ ระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง (Period cross sectional descriptive study) เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สัมภาษณ์มารดาหรือผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปีที่มาตรวจที่คลินิกเด็กดี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ระหว่างเดือนเมษายนถึงพฤศจิกายน 2539 นำข้อมูลที่ได้นั้นมาวิเคราะห์ทางสถิติ ผลการศึกษา ได้สัมภาษณ์มารดาหรือผู้ปกครองของเด็กจำนวน 288 คน เด็กส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วงแรกเกิดถึง 6 เดือน ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่คลอดที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ คลอดโดยวิธีปกติ ครบกำหนด และมีน้ำหนักแรกคลอดอยู่ในเกณฑ์ปกติ บิดามารดาของเด็กส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง และมีรายได้เฉลี่ยประมาณ 10,000 บาทต่อเดือน เด็กส่วนใหญ่ (ร้อยละ 56.2) มีลักษณะอุจจาระอยู่ในเกณฑ์ปกติ มี 12 คนที่มีลักษณะอุจจาระแข็งมาก มีอาการเบ่งมากกว่าปกติเวลาถ่ายและมีเลือดออกร่วมด้วย ความชุกของภาวะท้องผูกในการศึกษานี้เท่ากับร้อยละ 4.2 เด็กส่วนใหญ่ถ่ายอุจจาระเฉลี่ยวันละครั้ง เป็นเด็กที่เคยได้รับนมมารดามา พบว่าเด็กที่มีภาวะท้องผูกจะได้รับนมผสมโดยเฉลี่ยต่อวันน้อยครั้งกว่าและได้รับปริมาณโดยเฉลี่ยต่อวันมากกว่าเด็กที่ไม่มีภาวะท้องผูก (p<0.05) และพบว่าเด็กที่มีภาวะท้องผูกจะเริ่มได้รับอาหารเสริมที่อายุเฉลี่ยน้อยกว่าและได้รับอาหารเสริมเป็นจำนวนครั้งโดยเฉลี่ยมากกว่าเด็กที่ไม่มีอาการท้องผูก (p<0.05) นมต่างตรากัน นมเด็กเล็กหรือเด็กโต อาหารเสริมต่างชนิดกัน ประวัติท้องผูกในครอบครัว ปัจจัยเหล่านี้ไม่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะท้องผูกในการศึกษานี้ (p>0.05)-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to know prevalence and factors associated with constipation in children under 1 year old. This is a cross sectional descriptive study using questionnaire to collect data by interview the children’s parents who come visit well baby clinic Chulalongkorn Hospital. The results : A total 288 questionnaires are collected. The majority of children are under 6 months of age. Almost of them were born at Chulalongkorn Hospital, term pregnancy normal labour and had normal birth weight in average. Family income is about 10,000 Baht by average 56.2 percent of children had normal stool consistency. There are 12 children whose stool are very hard consistency associated with difficult defecation and bleeding per rectum. By this way prevalence of constipation is 4.2 percent. Majority of children pass stool once a day. We found that the constipated children have received formula less frequent and larger amount than non constipated children (p< 0.05). They also have received supplementary foods more frequent with start at less age than non constipated children. There are no significant different in formula brand, humanized or follow on formula, kinds of supplement food and family history of constipation among constipated and non constipated group.-
dc.format.extent790260 bytes-
dc.format.extent408411 bytes-
dc.format.extent600529 bytes-
dc.format.extent453395 bytes-
dc.format.extent533288 bytes-
dc.format.extent978856 bytes-
dc.format.extent668695 bytes-
dc.format.extent287176 bytes-
dc.format.extent569858 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะท้องผูกในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี ที่คลินิกเด็กดี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en
dc.title.alternativePrevalence and factors associated with constipation in children under 1 year old at well baby clinic Chulalongkorn Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineกุมารเวชศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paiboon_wo_front.pdf771.74 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_wo_ch1.pdf398.84 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_wo_ch2.pdf586.45 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_wo_ch3.pdf442.77 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_wo_ch4.pdf520.79 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_wo_ch5.pdf955.91 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_wo_ch6.pdf653.02 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_wo_ch7.pdf280.45 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_wo_back.pdf556.5 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.