Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31038
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปทีป เมธาคุณวุฒิ-
dc.contributor.authorผ่องใส ศุภจรรยารักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-17T06:49:18Z-
dc.date.available2013-05-17T06:49:18Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745683183-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31038-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวโน้มของวิชาชีพเลขานุการ โดยใช้เทคนิคเดลฟาย มุ่งศึกษาครอบคลุมเฉพาะแนวโน้มเกี่ยวกับ บทบาท คุณสมบัติ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและผลกระทบต่อวิชาชีพ แนวทางการจัดการศึกษาวิชาชีพเลขุการระดับปริญญาตรี เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับสภาพองค์การในอีก 10 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2540) โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพเลขานุการ จำนวน 24 คน ผลการวิจัยพบว่า เลขานุการควรมีคุณวุฒิขั้นต่ำระดับปริญญาตรี มีความรู้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษดี มีความตั่งใจทำงาน สามารถปรับตัวและพัฒนาตนเอง มีมนุษยสัมพันธ์ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ และเชื่อมั่นในตนเองสูง ในการเป็นที่ปรึกษาดูแลเกี่ยวกับเรื่องเวลาและการนัดหมาย เป็นผู้สื่อข่าวที่ถูกต้อง แม่นยำ รวดเร็ว รวมทั้งเป็นผู้ประสานงานระหว่างผู้บริหารกับบุคคลอื่นทั้งภายในและภายนอกองค์การ เป็นประชาสัมพันธ์และภาพพจน์ของผู้บริหารและองค์การต่อบุคคลภายนอก ในด้านผลกระทบของเทคโนดลยีนั้นเลขานุการต้องพร้อมที่จะปรับตนเองให้เข้ากับระบบการทำงานที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ด้านหลักสูตรและการสอน ควรเน้นบุคลิกลักษณะความเป็นเลขานุการ ความเข้าใจภาระงานของวิชาชีพ กวดขันความรู้ในด้านภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรเพิ่มความรู้พื้นฐานในด้านคอมพิวเตอร์ การบริหารระบบสารสนเทศ โทรพิมพ์ นอกจากนี้ ควรส่งเสริมการดูงานในองค์การที่มีลักษณะต่างๆ กัน จัดสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพและจัดปัจฉิมนิเทศให้เป็นรายวิชาบังคับเรียนที่เตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนออกไปประกอบอาชีพ นอกจากนั้นอาจารย์ผู้สอนควรต้องสนใจติดตามความก้าวหน้า พัฒนาการและการเข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพ-
dc.description.abstractalternativeIn applying Delphi Technique with a sample group of 24 selected qualified experts in secretary professions, the researcher aimed to gain a perspective view of secretarial role, qualifications and the impact of technology progress upon the profession with the purpose to determine a guideline for institutions to set a policy of their outcomes in secretary profession for organizations in time of 10 years ahead. It was found out that a good secretary should possess following qualifications: bachelor's degree gain a minimum requirement, good knowledge of Thai and English languages, work eagerness, self adaptation and development good human relationship, responsibility, honesty, self confidence, good public relation. Concerning to the impact of technological progressiveness, the secretary must be ready to self adjust in working with in the becoming technology oriented organization. In term of curriculum and teaching techniques, these aspects should be emphasized : secretary personality ; understanding of secretary profession, knowledge of Thai and English languages, basic knowledge of computer, telex, management information system. In addition, student training in typical organizations should be encouraged as well as participation in profession seminars. Moreover, teaching staffs should also pay attention to the progress and development of the profession and take part in professional activities as well.-
dc.format.extent5051918 bytes-
dc.format.extent3671408 bytes-
dc.format.extent14928167 bytes-
dc.format.extent2550086 bytes-
dc.format.extent7831850 bytes-
dc.format.extent12007101 bytes-
dc.format.extent17405444 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleแนวโน้มของวิชาชีพเลขานุการ ในปีพุทธศักราช 2540en
dc.title.alternativeTrend of secretary profession in B.E. 2540en
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pongsai_su_front.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open
Pongsai_su_ch1.pdf3.59 MBAdobe PDFView/Open
Pongsai_su_ch2.pdf14.58 MBAdobe PDFView/Open
Pongsai_su_ch3.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open
Pongsai_su_ch4.pdf7.65 MBAdobe PDFView/Open
Pongsai_su_ch5.pdf11.73 MBAdobe PDFView/Open
Pongsai_su_back.pdf17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.