Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31063
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพียรพรรค ทัศดร-
dc.contributor.authorผ่องศรี ไวยาวัจมัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-18T06:52:41Z-
dc.date.available2013-05-18T06:52:41Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745769851-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31063-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ ได้ทำการสังเคราะห์สารประกอบดีบุกอินทรีย์โดยวีกรินยาด์ เพื่อใช้เป็นสารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน และสารต้านการเกิดสนิม สารประกอบดีบุกอินทรีย์ที่สังเคราะห์ได้แก่ เตตราบิวทิลทิน, เตตราออกทิลทิน, ไตรบิวทิลทินคลอไรด์, ไตรออกทิลทินคลอไรด์, ไตรฟีนิลทินคลอไรด์, ไดบิวทิลทินไดคลอไรด์, ไดฟีนิลทินไดคลอไรด์, ไตรบิวทิลทินไดเอทธิลไดไธโอคาร์บาเมต, ไตรออกทิลทินไดเอทธิลไดไธโอคาร์บาเมต, ไตรฟีนิลทินไดเอทธิลไดไธอคาร์บาเมต, ไดบิวทิลทิน บิส ไดเอทธิลไดไธโอคาร์บาเมต และไดฟีนิลทิน บิส ไดเอทธิลไดไธโอคาร์บาเมต การศึกษาการละลายของสารประกอบดีบุกอินทรีย์เหล่านี้ พบว่าสารประกอบของไดบิวทิลทินไดคลอไรด์ และ ไดบิวทิลทิน บิส ไดเอทธิลไดไธโอคาร์บาเมต มีการละลายในน้ำมันหล่อลื่น ดีที่สุด เมื่อทดลองนำสารประกอบดีบุกอินทรีย์เหล่าละลายในน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน ที่ใช้ในอุตสาหกรรม แล้วนำไปตรวจสอบคุณสมบัติการต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยวิธี TGA พบว่า เมื่อเติมสารประกอบของ ไดบิวทิลทิน บิส ไดเอทธิลไดไธโอคาร์บาเมต เข้มข้น 0.1% ลงไป จะทำให้ค่าออกซิเดชันโปรดักส์ ลดลง 3.6% จากน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานที่ไม่ได้เติมสารเพิ่มคุณภาพใดๆ ลงไป ส่วนสารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันที่ใช้ในอุตสาหกรรมจะทำให้ค่าออกซิเดชันลดลง 3.9% ส่วนคุณสมบัติต้านการเกิดสนิม โดยวิธี ASTM D 665 พบว่าสารประกอบดีบุกอินทรีย์คลอไรด์ ทุกตัว ทำให้เกิดสนิม ปานกลาง-รุนแรง ในขณะที่สารประกอบดีบุกอินทรีย์ที่มีหมู่อินทรีย์สี่หมู่ และสารประกอบดีบุกอินทรีย์ไดเอทธิลไดไธโอคาร์บาเมตจะทำให้เกิดสนิมน้อย เมื่อทำการทดสอบสารประกอบของไดบิวทิลทิน บิสไดเอทธิลไดไธโอคาร์บาเมต กับน้ำมันหล่อลื่นที่ได้จากการแยกไข พบว่าสามารถต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ แต่เมื่อใช้กับน้ำมันหล่อลื่นใช้งานแล้วผ่านการบำบัดด้วยวิธี acid/clay ปรากฎว่าไม่ได้ผล-
dc.description.abstractalternativeOrganot in compounds were synthesizecl by Grignard method, for use as lubricating oil anti-oxidant and anti-rust additive. The following organotin compounds synthesized were tetrabutyltin , tetra­ octyltin, tetraphenyltin , tributyltin chloride , trioctyltin chloride , triphenyltin chloride , dibutyltin dichloride , diphenyltin dichloride , tributyltin diethyldithiocarbamate , trioctyltin diethyldithiocarbamate, triphenyltin diethyldithiocarbamate , dibutyltin bis diethyldithio­ carbamate , diphenyltin bis diethyldithiocarbamate. A test on solubility of organotin compound in lubricating oil base, indicated that dibutyltin dichloride and dibutyltin bis dietbyldithylocarbamate showed best results. Anti-oxidant characteristics were investigated by TGA method , It was found that dibutyltin bis diethyldithiocarbamate at 0.1% wt in base oil could reduce oxidation product 3.6 % comparable to a commercial antioxidant which was 3.9 % base on additive-free base oil. A test for anti-rust property, by ASTM D 665, indicated that organotin chloride caused moderate to severe rusting while low- rusting was observed for tetraorganotin and organotin diethyldithiocarbamate. Dibutyltin bis diethyldithiocarbamate was added to dewaxed oil, it could be used satisfactorily as anti-oxidant. However, it v-as not effective when used with reused lubricating oil treated by acid/clay process.-
dc.format.extent5874280 bytes-
dc.format.extent1907466 bytes-
dc.format.extent9820092 bytes-
dc.format.extent7810636 bytes-
dc.format.extent10703572 bytes-
dc.format.extent3514546 bytes-
dc.format.extent8002242 bytes-
dc.format.extent15545384 bytes-
dc.format.extent1323871 bytes-
dc.format.extent11976418 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectออกซิเดชัน
dc.subjectสารประกอบดีบุกอินทรีย์
dc.subjectน้ำมันหล่อลื่น
dc.titleการสังเคราะห์สารประกอบดีบุกอินทรีย์เป็นสารเพิ่มคุณภาพ ในน้ำมันหล่อลื่นen
dc.title.alternativeSynthesis of organotin compounds as lubricating oil additivesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineปิโตรเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pongsri_wa_front.pdf5.74 MBAdobe PDFView/Open
Pongsri_wa_ch1.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open
Pongsri_wa_ch2.pdf9.59 MBAdobe PDFView/Open
Pongsri_wa_ch3.pdf7.63 MBAdobe PDFView/Open
Pongsri_wa_ch4.pdf10.45 MBAdobe PDFView/Open
Pongsri_wa_ch5.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open
Pongsri_wa_ch6.pdf7.81 MBAdobe PDFView/Open
Pongsri_wa_ch7.pdf15.18 MBAdobe PDFView/Open
Pongsri_wa_ch8.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Pongsri_wa_back.pdf11.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.