Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31298
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมฤทัย วัชราวิวัฒน์-
dc.contributor.advisorครองวงศ์ มุสิกถาวร-
dc.contributor.authorเสาวนินทร์ กรกชมาศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-25T03:18:05Z-
dc.date.available2013-05-25T03:18:05Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31298-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกและลักษณะของปัญหาเกี่ยวกับยาที่เป็นสาเหตุของการเข้ารับการรักษา ของผู้ป่วยที่หน่วยฉุกเฉิน วิธีการศึกษา: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (cross-sectional study) ทำการ ศึกษาในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยฉุกเฉิน non-trauma โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ระหว่างเวลา 7.30 น. ถึง 15.30 น. เป็นเวลา 4 เดือน การเข้ารับการรักษาที่หน่วยฉุกเฉินที่มีสาเหตุจากปัญหาเกี่ยวกับยาประเมินโดยเภสัชกรและแพทย์ที่ทำการรักษาผู้ป่วยในขณะนั้น ผู้วิจัยจัดประเภทของปัญหาเกี่ยวกับยาโดยอาศัยเกณฑ์ของ Cipolle และคณะ ผลการศึกษา: จากผู้ป่วยที่เข้าร่วมงานวิจัยจำนวน 1,000 ราย ผู้ป่วยจำนวน 369 ราย (ร้อยละ 36.9) เข้ารับการรักษาที่หน่วยฉุกเฉินอันเนื่องมาจากยา ปัญหาเกี่ยวกับยาที่พบในผู้ป่วยจำนวน 255 ราย (ร้อยละ 69.1) เป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้ ผู้ป่วยจำนวน 200 ราย (ร้อยละ 54.2) จำเป็นต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลต่อ และมีผู้ป่วย จำนวน 2 ราย (ร้อยละ 0.5) เสียชีวิต ปัญหาเกี่ยวกับยาที่พบบ่อยที่สุดได้แก่ การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ร้อยละ 32.52) ปัญหาความไม่ร่วมมือในการใช้ยา (ร้อยละ 26.29) และปัญหาการได้รับยาโดยไม่จำเป็น (ร้อยละ 14.36) รายการยาที่สัมพันธ์กับการเข้ารับการรักษาที่หน่วยฉุกเฉินที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ แอลกอฮอล์ (ร้อยละ 5.53) furosemide (ร้อยละ 3.95) aspirin (ร้อยละ 3.75) insulin (ร้อยละ 3.56) และ metformin (ร้อยละ 3.36) สรุปผลการศึกษา: 1 ใน 3 ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตัวที่หน่วยฉุกเฉินมีสาเหตุจากปัญหาที่เกี่ยวกับยาและ 2 ใน 3 ของปัญหาเหล่านั้นเป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้en
dc.description.abstractalternativeObjectives: To determine the prevalence and characteristics of drug-related visits to the emergency department. Methods: This cross-sectional study was conducted in non-trauma emergency department at King Chulalongkorn Memorial hospital. All adult patients presenting to the emergency department during 7.30 a.m. and 3.30 p.m. over 4 months were evaluated. The emergency department visits were identified as drug-related by a pharmacist and emergency physicians independently. Drug-related problems were categorized according to Cipolle’s classification. Results: Of 1,000 patients, 369 patients (36.9%) were identified as having drug-related emergency department visit. Two hundred and fifty-five visits (69.1%) were preventable. Two hundred patients (54.2%) needed hospitalization and two patients (0.5%) died. The most common causes of drug-related visit were adverse drug reactions (32.52%), noncompliance (26.29%) and unnecessary drug therapy (14.36%). The most common drugs related to emergency department visit were alcohol (5.53%), furosemide (3.95%), aspirin (3.75%), insulin (3.56%) and metformin (3.36%). Conclusions: One-third of non-trauma emergency department visits were drug-related. Two-third of these drug-related visits were preventable.en
dc.format.extent10357656 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1342-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการแพ้ยาen
dc.subjectยา -- ผลข้างเคียงen
dc.subjectความเจ็บป่วย -- ผลกระทบจากยาen
dc.titleการเข้ารับการรักษาที่หน่วยฉุกเฉินอันเนื่องมาจากยา ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en
dc.title.alternativeDrug-related visits to the emergency department at King Chulalongkorn Memorial Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเภสัชกรรมคลินิกes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorKhrongwong.M@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1342-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
saowanin_ko.pdf10.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.