Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31341
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พนม คลี่ฉายา | - |
dc.contributor.author | สุกัญญา กัณหา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-25T11:51:49Z | - |
dc.date.available | 2013-05-25T11:51:49Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31341 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้เนื้อหาสารในภาพยนตร์รณรงค์ใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ทางโทรทัศน์ และศึกษาความเกี่ยวข้องกันระหว่างการรับรู้เนื้อหาสารกับอาชีพ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา และการตัดสินใจใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ใช้ระเบียบวิธีวิจัยผสมผสานระหว่าง การวิเคราะห์ภาพยนตร์โทรทัศน์เพื่อรณรงค์ใช้แก๊สโซฮอล์ ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ในปี 2548 – 2551 การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เกี่ยวข้องกับการผลิตและเผยแพร่ เพื่อสร้างแบบสอบถาม และการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่าง 400 คนในเขตกรุงเทพมหานคร ใช้สถิติวิเคราะห์เชิงพรรณนา และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ไคว์แสวร์ (Chi-square) ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ภาพยนตร์รณรงค์แบ่งเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงปี 2548-2549 มีเนื้อหาสารเน้นแก้ไขความเข้าใจผิด แก้อคติ โดยกระตุ้นให้คนฉุกคิด และช่วงปี 2550-2551 มีเนื้อหาสารเน้นสร้างความมั่นใจในการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์แล้วไม่มีปัญหา ในด้านการรับรู้เนื้อหาสารในภาพยนตร์พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการรับรู้เนื้อสารในภาพยนตร์ช่วงปี 2548-2550 และมีการตัดสินใจที่จะใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ สำหรับการทดสอบสมมติฐานพบว่า การรับรู้เนื้อหาสารในภาพยนตร์ 6 เรื่อง จากทั้งหมด 7 เรื่อง ขึ้นอยู่กับรายได้ และการตัดสินใจใช้ขึ้นอยู่กับการรับรู้เนื้อหาสารในภาพยนตร์ 5 เรื่อง จากทั้งหมด 7 เรื่อง โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research are to study content perception of gasohol TVC campaign and correlation between content perception and occupation, age, income, education and decision using gasohol. The study is a mixed method research. Firstly, the analysis of gasohol TVC campaign and In-depth interview among key informants are used for questionnaire design. Secondly, the quantitative research sued questionnaire for data collection among 400 samples in Bangkok. The descriptive statistic and Chi-Square were employed to analyze the data. The results are concluded that the gasohol TVC campaign separated into 2 phases. First, the content is mainly about correcting miss-understanding of gasohol. Second, the content is mainly about creating confidence of using gasohol. The content of gasohol TVC campaign during the year 2005-2007 is mostly percept. In addition, the content perception of 6 TVC is significance related to income. The decision using gasohol is also significance related to content perception in 5 TVC. | en |
dc.format.extent | 9393618 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.366 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์ | en |
dc.subject | การรับรู้ | en |
dc.subject | แกสโซฮอล | - |
dc.title | การรับรู้เนื้อหาสารในภาพยนตร์รณรงค์ใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ทางโทรทัศน์ของสำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน | en |
dc.title.alternative | Content perception of gasohol TVC campaign produced by Energy Policy and Planning Office, Ministry of Energy | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การประชาสัมพันธ์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Phnom.K@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.366 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sukanya_Ka.pdf | 9.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.