Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31460
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระ ริ้วพิทักษ์-
dc.contributor.advisorวันชัย ริ้วไพบูลย์-
dc.contributor.authorเพ็ญจันทร์ รักษ์พลเมือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-28T04:31:35Z-
dc.date.available2013-05-28T04:31:35Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745769266-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31460-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษารูปแบบของรหัสแต่ละชนิด และเพิ่มความสามารถแก้ความผิดพลาดของรหัส เนื่องจากรหัสเป็นส่วนสำคัญในการสื่อสารของข้อมูล โดยการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ นั้นประกอบด้วย แหล่งกำเนิด ซึ่งเป็นแหล่งสร้างหรือให้ข้อมูลหรือข่าวสาร แล้วส่งผ่านเข้าไปยังตัวกลาง ซึ่งทำหน้าที่เป็นพาหะ นำเอาข้อมูลหรือข่าวสารนั้น ไปยังผู้รับโดยผ่านทางแชนแนล ซึ่งอาจจะถูกรบกวนจากสัญญาณรบกวนต่างๆ ทำให้ผู้รับได้รับข้อมูลที่ผิดพลาดได้ ดังนั้นการใช้รหัสควบคุมความผิดพลาดของข้อมูลจัดการกับข้อมูลในตัวเข้ารหัสและตัวถอดรหัสของแชนแนล เพื่อป้องกันข้อมูลจากความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการส่งผ่านข้อมูล โดยให้ตัวรับสามารถบ่งชี้ และแก้ความผิดพลาดของข้อมูลให้ถูกต้องได้เองซึ่งจะทำให้ข้อมูลมีความเชื่อถือได้ และประสิทธิภาพของระบบเพิ่มมากขึ้น ในการวิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอนต่างๆ ดังนี้คือ ศึกษาทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ของรหัสต่างๆแล้วเลือกรหัสตัวอย่าง มาทำการทดสอบประสิทธิภาพในการสืบหา และแก้ความผิดพลาดของข้อมูล โดยการสร้างแบบจำลองการเข้ารหัส และถอดรหัส เมื่ออัตราการเกิดความผิดพลาดของบิตข้อมูลอยู่ในช่วง 10-3 ถึง 10-5 บิต ซึ่งเป็นอัตราการเกิดความผิดพลาดที่เกิดขึ้นโดยทั่วไป และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของรหัสดังกล่าว พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการแก้ความผิดพลาดของรหัส โดยใช้สถิติการเกิดความผิดพลาดของบิตข้อมูลในแชนแนล และคำนวณบิตของข้อมูลที่ถูกต้อง จากการพิจารณาความเป็นไปได้ของโคดเวิร์ดทำให้ความสามารถแก้ความผิดพลาดของรหัสเพิ่มขึ้นประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์-
dc.description.abstractalternativeThis study in Code Theory was to find the characteristic of each code and improve the ability in correcting errors. Because codes are important in communication system, consists of a Source that generates data or information and then transfers this data or information through a channel to a Receiver. This transfer of data or information may be disturbed by many kinds of noise. So the receiver may receive incorrect data or information. Consequently, we should use Error Control Code in an Encoder and Decoder to protect data or information from error that may occur during transmission by identifying and correcting errors at the receiver. This will give us data integrity and improve performance of the communication system. The first step in conducting the research was to study the mathematic theory of several kinds of codes and then selecting examples of codes for testing performance. Because the ability to detect and correct errors of each code is different. So researching to compare performance of codes by simulating the encoder and decoder with error rate of 10-3 to 10-5 bits, that usually found in general systems, was done. Then improving the effectiveness of codes by using statistics of error occurring in channels and calculating data bits from all possible codewords was carried out. That made codes can correct more errors, approximately 25 percent.-
dc.format.extent843128 bytes-
dc.format.extent892516 bytes-
dc.format.extent5179599 bytes-
dc.format.extent1533772 bytes-
dc.format.extent922061 bytes-
dc.format.extent369162 bytes-
dc.format.extent2094316 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการสืบหาและแก้ความผิดพลาดของข้อมูลen
dc.title.alternativeData error detection and correctionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Penchun_ru_front.pdf823.37 kBAdobe PDFView/Open
Penchun_ru_ch1.pdf871.6 kBAdobe PDFView/Open
Penchun_ru_ch2.pdf5.06 MBAdobe PDFView/Open
Penchun_ru_ch3.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Penchun_ru_ch4.pdf900.45 kBAdobe PDFView/Open
Penchun_ru_ch5.pdf360.51 kBAdobe PDFView/Open
Penchun_ru_back.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.