Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3207
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแก้วคำ ไกรสรพงษ์-
dc.contributor.authorชูเกียรติ ศิวเวทกุล, 2518--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-10-10T08:50:20Z-
dc.date.available2006-10-10T08:50:20Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741703104-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3207-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้ตั้งคำถามวิจัยว่า กระบวนการรับฟังความคิดเห็นประชาชน จะมีส่วนช่วยแก้ไขความข้ดแย้งจากการจัดทำ โครงการอ่างเก็บน้ำโปร่งขุนเพชรได้หรือไม่ โดยอาศัยวิธีการเก็บข้อมูลเอกสาร สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง และการสังเกตการณ์กระบวนการรับฟังความคิดเห็น จากการศึกษาพบว่า กระบวนการรับฟังความคิดเห็นสามารถแก้ไขความขัดแย้งในส่วนข้อมูล ที่มีความแตกต่างกันอย่างมาก ของกลุ่มผู้สนับสนุนโครงการและคัดค้านโครงการ ด้วยการเปิดช่องทางการสื่อสารระหว่างคู่ขัดแย้ง ทำให้เกิดการโต้ตอบในประเด็นและสภาพปัญหา ที่กลุ่มผู้คัดค้านโครงการสงสัย โดยกระบวนการนี้เป็นการตรวจสอบข้อมูลบนฐานสภาพความเป็นจริง เพื่อประกอบการสรุปผล ปัจจัยสำคัญที่ทำให้กระบวนการรับฟังความคิดเห็น สามารถเข้ามาแก้ไขปัญหาความขัดแย้งได้ เนื่องจากกระบวนการนี้มีความชอบธรรมที่คณะอนุกรรมการฯ ที่ดำเนินการจัดการรับฟังความคิดเห็น ได้รับอำนาจหน้าที่โดยตรงจากรัฐ ในการเข้ามาแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ตลอดจนความเป็นกลางของคณะอนุกรรมการฯ ทำให้กระบวนการจัดรับฟังความคิดเห็น เป็นที่ยอมรับและการเข้ามามีส่วนร่วมของคู่ขัดแย้งทั้งสองฝ่าย ขณะที่กระบวนการแก้ไขความข้ดแย้งโดยรัฐที่จัดทำขึ้นก่อนหน้านี้ อันได้แก่ กระบวนการลงประชามติ และกระบวนการเจรจาไกล่เกลี่ยโดยคนกลาง ไม่สามารถแก้ไขความขัดแย้งระหว่าง กลุ่มผู้สนับสนุนโครงการและคัดค้านโครงการได้ เนื่องจากขาดการยอมรับในตัวกระบวนการแก้ไขความขัดแย้ง ที่ไม่เปิดโอกาสให้ฝ่ายคัดค้านโครงการเข้ามามีส่วนร่วม และผู้ดำเนินการกระบวนการแก้ไขความขัดแย้งขาดความเป็นกลาง ทำให้ฝ่ายที่คัดค้านโครงการไม่เข้าร่วมในกระบวนการดังกล่าวen
dc.description.abstractalternativeTo examine the public hearing process in the case of Prong Khun Phet Reservior Project. The methods used in the study consisted of documentary research, personal interviews with key informant, and direct observation in the public hearing. The study of public hearing process of Prong Khun Phet Reservior Project reveals that the process of public hearing is capable of solving conflict that has an extreme disagreement in information between the supporters and the opposers. The public hearing process, which is based on evidence revelation, increase communication between both sides, or the conflicting parties, leading to a deliberative dialog. The major factors that made the public hearing process successful and legitimate are 1) the public hearing committee's direct and official appointment by the central government and 2) the public hearing committee's non-partisanship. Both factors made both sides agree to participate in the process. This is unlike previous attempts by the government, which were a referendumand a negotiation by each side's representative. The negotiation was unsuccessful earlier, because the representatives were not neutral and the negotiation did not directly involve the conflicting parties in the negotiation processen
dc.format.extent44770562 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความขัดแย้งทางสังคมen
dc.subjectอ่างเก็บน้ำen
dc.subjectเขื่อนen
dc.subjectโครงการอ่างเก็บน้ำโปร่งขุนเพชรen
dc.subjectประชาพิจารณ์en
dc.titleการแก้ไขความขัดแย้ง : ศึกษากรณีการรับฟังความคิดเห็น ในโครงการอ่างเก็บน้ำโปร่งขุนเพชรen
dc.title.alternativeSolving conflict : a case study of public hearing in Prong Khun Phet Reservior Projecten
dc.typeThesisen
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการปกครองen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chukiat.pdf12.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.