Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32088
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอำไพ ตีรณสาร
dc.contributor.authorพูนสม โรจนวิทย์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-06-09T08:54:38Z
dc.date.available2013-06-09T08:54:38Z
dc.date.issued2536
dc.identifier.isbn9745826839
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32088
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบแนวคิดทางการเรียนการสอนศิลปศึกษาของครูศิลปศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 ในด้านความหมายของศิลปะและศิลปศึกษา องค์ประกอบของศิลปศึกษา และกระบวนการเรียนการสอน ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูศิลปศึกษาจำนวน 127 คน จากโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 จำนวน 127 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัย ประกอบด้วยแบบตรวจสอบรายการ แบบประเมินค่าและแบบปลายเปิดวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวคิดของครูศิลปศึกษาด้วยการทดสอบค่าทีและค่าเอฟ ผลการวิจัยพบว่า ครูศิลปศึกษามีแนวคิดทางการเรียนการสอนศิลปศึกษาอยู่ในระดับเห็นด้วยกับทุก ๆ ด้าน ส่วนการเปรียบเทียบแนวคิดทางการเรียนการสอนศิลปศึกษา ตามสถานภาพของครูศิลปศึกษาพบว่า ครูศิลปศึกษามีแนวคิดไม่แตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบด้านเพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการสอน แต่เมื่อเปรียบเทียบตามอายุ พบว่า มีแนวคิดในด้านกระบวนการเรียนการสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรียบเทียบแนวคิดทางการเรียนการสอนศิลปศึกษาของครูศิลปศึกษา ตามทฤษฎีการสอนศิลปศึกษา พบว่า ครูศิลปศึกษามีแนวคิดไม่แตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบตามระดับการศึกษาและประสบการณ์ในการสอน แต่เมื่อพิจารณาตามเพศ และอายุ พบว่า มีแนวคิดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study and compare the conceptions of art education instruction of art teachers in the secondary schools under the jurisdiction of the Department of General Education, Educational Region Five in the following aspects : meanings of art and art education, factors of art education, and processes of instruction. The samples of this study were 127 art teachers from 127 secondary schools under the jurisdiction of the Department of General Education, Educational Region Five. The researcher constructed one set of questionnaire consisted of check-list, rating scale and opend-ended questions. The data were analyzed by using percentage, means, standard deviation, t-test and f-test. It was found that art teachers had the conceptions at the level of agreement in all aspects of art education instruction.
dc.format.extent5898742 bytes
dc.format.extent5541532 bytes
dc.format.extent45297047 bytes
dc.format.extent2658798 bytes
dc.format.extent27266639 bytes
dc.format.extent8445346 bytes
dc.format.extent17126257 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleแนวคิดทางการเรียนการสอนศิลปศึกษาของครูศิลปศึกษา ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5en
dc.title.alternativeConceptions of art education instruction of art teachers in secondary schools under the jurisdiction of the Department of General Education, educational region fiveen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phoonsom_ro_front.pdf5.76 MBAdobe PDFView/Open
Phoonsom_ro_ch1.pdf5.41 MBAdobe PDFView/Open
Phoonsom_ro_ch2.pdf44.24 MBAdobe PDFView/Open
Phoonsom_ro_ch3.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open
Phoonsom_ro_ch4.pdf26.63 MBAdobe PDFView/Open
Phoonsom_ro_ch5.pdf8.25 MBAdobe PDFView/Open
Phoonsom_ro_back.pdf16.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.