Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32106
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งนภา พิตรปรีชา-
dc.contributor.authorอรรถนียา เปล่งวิทยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-06-10T03:24:45Z-
dc.date.available2013-06-10T03:24:45Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32106-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อหาตัวชี้วัดความมีชื่อเสียงของธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจากมุมมองของนักลงทุน และพนักงาน 2) เพื่อจัดลำดับความสำคัญตัวชี้วัดความมีชื่อเสียงของธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจากมุมมองของนักลงทุน และพนักงาน 3) เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อความมีชื่อเสียงของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงสำรวจ ซึ่งจะใช้แบบสอบถาม ในการเก็บข้อมูล โดยใช้ RepTrak™ System ของสถาบันชื่อเสียง มาใช้ในการกำหนดแบบสอบถาม โดยจะแบ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ใช้ในการเก็บข้อมูลออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มนักลงทุนและกลุ่มพนักงาน โดยสถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์ค่าที (Independent sample T-test) และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มนักลงทุนและกลุ่มพนักงานได้จัดให้ ปัจจัยด้านสถานที่ทำงานปัจจัยด้านผลประกอบการ ปัจจัยด้านความเป็นผู้นำ และปัจจัยด้านการกำกับดูแล เป็นปัจจัยที่เป็นตัวชี้วัดความมีชื่อเสียงของธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ โดยกลุ่มพนักงานได้จัดให้ปัจจัยด้านสถานที่ทำงานเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุด ในขณะที่กลุ่มนักลงทุนได้จัดให้ ปัจจัยด้านผลประกอบการ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are: 1) To identify the reputation indicators for the banks listed on the Stock Exchange of Thailand (SET) from the perspective of their investors and employees; 2) To prioritize those identified indicators; and 3) To identify factors that affect the reputation of large, medium and small-sized SET-listed banks. Quantitative analysis and survey research are used to conduct this study. The questionnaire used to collect data is obtained from the RepTrak™ System of the Reputation Institute, a body well known for its reputation measurement tools. The stakeholders providing data for this study are divided into two groups, i.e. the banks’ investors and employees. The statistical method takes into account variables consisting of mean and standard deviation values, as well as those derived from Independent Sample T-test and Multiple Regression run by SPSS program. It was found from the study that, for the banks’ investors and employees, the factors concerning workplace, operational performance, leadership and governance are the major indicators for SET-listed banks’ reputation. While a convenient workplace is the most influential factor for the employee group, the bank’s operational performance is the most influential one for investors.en
dc.format.extent3752007 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.324-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectธนาคารและการธนาคาร -- ไทยen
dc.subjectธนาคารและการธนาคาร -- การประชาสัมพันธ์en
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การ -- ไทยen
dc.subjectบริษัท -- ความสัมพันธ์กับนักลงทุน -- ไทยen
dc.subjectนายธนาคาร -- ไทยen
dc.subjectผู้ถือหุ้น -- ไทยen
dc.subjectการรับรู้en
dc.subjectBanks and banking -- Thailanden
dc.subjectBanks and banking -- Public relationsen
dc.subjectCorporate image -- Thailanden
dc.subjectCorporations -- Investor relations -- Thailanden
dc.subjectBankers -- Thailanden
dc.subjectStockholders -- Thailanden
dc.subjectPerceptionen
dc.titleตัวชี้วัดความมีชื่อเสียงของธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจากการรับรู้ของนักลงทุนและพนักงานen
dc.title.alternativeCorporate reputation indicators of SET-listed banks in investors' and employees' perceptionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorrungnapar.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.324-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
attaneeya_pl.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.