Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32108
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญ หาญสืบสาย-
dc.contributor.authorชวัลวิทย์ รัศมีพจน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-10T03:38:05Z-
dc.date.available2013-06-10T03:38:05Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32108-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการออกแบบโครงสร้างถุงฟิล์มหลายชั้น เพื่อใช้บรรจุน้ำมะม่วงเข้มข้นจากมะม่วงแก้วและแรดที่พบได้ทั่วไปในประเทศไทย โดยกำหนดโครงสร้าง 3 แบบ ได้แก่ CPP/Al/PET, CPP/MPET/PET, CPP/PA ซึ่งใช้ฟิล์มพอลิโพรพิลีนเป็นฟิล์มปิดผนึก ทำการวิเคราะห์สมบัติของถุงฟิล์มหลายชั้น ได้แก่ สมบัติการซึมผ่านของออกซิเจน สมบัติการซึมผ่านของน้ำ อุณหภูมิที่ใช้ในการผนึกติด การส่องผ่านของแสง จากนั้นทำการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของน้ำมะม่วงในถุง เช่น สี ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ปริมาณของแข็งที่ละลายอยู่รวมทั้งหมด (องศาบริกซ์) ในน้ำมะม่วง และความพึงพอใจของผู้บริโภค ณ ภาวะการเก็บรักษาที่ 6 องศาเซลเซียส และ 30 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ยังทำการสำรวจหาเฉดสีของน้ำมะม่วงที่คนส่วนใหญ่ชอบ เพื่อนำไปออกแบบภาพกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ พบว่าถุง CPP/Al/PET, CPP/MPET/PET สามารถกันการซึมผ่านของแก๊สและน้ำได้กีว่าถุง CPP/PA ในขณะที่ถุง CPP/PA ให้อุณหภูมิเริ่มการปิดผนึกที่ต่ำที่สุด ไม่มีการส่องผ่านแสงของถุง CPP/Al/PET ในขณะที่ ถุง CPP/PA ให้แสงส่องผ่านได้มากที่สุด ส่วนถุง CPP/MPET/PET ให้แสงผ่านได้เล็กน้อย ในส่วนของคุณภาพของน้ำมะม่วงเข้มข้นพบว่า ค่า pH และค่าองศาบริกซ์ (°Bx) ให้ค่าคงที่ตลอดการทดลอง ค่าสีของน้ำมะม่วงในถุงที่เก็บที่อุณหภูมิ 6 องศาเซลเซียส มีการเปลี่ยนแปลงที่น้อยกว่าที่เก็บในอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะถุง CPP/PA เก็บที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียสมีการเปลี่ยนแปลงสีที่มากที่สุด ดังนั้นภาวะการเก็บรักษาน้ำมะม่วงเข้มข้นที่ดีที่สุดคือควรเก็บในถุง CPP/MPET/PET ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 6 องศาเซลเซียส ส่วนค่าความพึงพอใจของรสชาติและกลิ่น มีการเปลี่ยนแปลงที่น้อยมาก จนถือว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากตัวอย่างอ้างอิง และในส่วนเฉดสีของน้ำมะม่วงที่คนส่วนใหญ่ชอบพบว่าชอบน้ำมะม่วงเฉดสีเหลืองและเฉดสีเหลืองอมแดงเล็กน้อย เพราะรู้สึกว่าสีสันเป็นธรรมชาติ ไม่ได้ใส่สีเจือปน และสีสันน่าทาน ให้ความรู้สึกหวานอร่อยen
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to design the multilayer film pouch’s structure for containing mango syrup. We chose Kaew and Rad mangoes as they are planted in all part of the country. The comparison of film structures as following: CPP/Al/PET, CPP/MPET/PET and CPP/PA were considered, using CPP as sealant film. Total thickness was controlled at between 49-75 µm based on dry lamination technique. Water vapour transmission rate, oxygen transmission rate, seal strength and density of multilayer film pouches were measured. To examine the quality of contained mango syrup, colour, pH and ºBx parameters and sensory test were evaluated under condition’s storage at 6ºC and 30ºC. Evaluation of sensory test was done by using Saitenho method. Results showed that CPP/Al/PET structure is the best barrier property followed by CPP/MPET/PET and CPP/PA structures respectively. Browning reaction slowly occurred at low temperature. Aluminum foil protected the change of mango’s color from light, oxygen and vapour. While pH and ºBx values of mango syrup in the pouches were consistency. It is suggested that the proper structure of pouch for preserving the mango syrup is CPP/Al/PET. In additions the storaged temperature should be under 6 ºC. The sensory test scores showed the same level as those of reference sample. It was found that Thai teenagers preferred mango juice in yellowish and reddish yellow colour sheds. It is because these colour are nature-look, non toxic, tasty and sweety.en
dc.format.extent2674964 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.313-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโพลิโพรพิลีนen
dc.subjectถุง (บรรจุภัณฑ์)en
dc.subjectการปิดผนึก (เทคโนโลยี) -- เครื่องมือและอุปกรณ์en
dc.subjectอุตสาหกรรมมะม่วงen
dc.subjectน้ำผลไม้ -- การบรรจุหีบห่อen
dc.subjectบรรจุภัณฑ์อาหารen
dc.subjectPolypropyleneen
dc.subjectPouches (Containers)en
dc.subjectSealing (Technology) -- Equipment and suppliesen
dc.subjectMango industryen
dc.subjectFruit juices -- Packagingen
dc.subjectFood containersen
dc.titleถุงหลายชั้นที่ใช้พอลิโพรพิลีนเป็นฟิล์มปิดผนึกสำหรับบรรจุน้ำมะม่วงเข้มข้นen
dc.title.alternativeMultilayer pouch using polypropylene as a sealant film for containing mango syrupen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisoraran.h@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.313-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chawawit_ra.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.