Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพวรรณ ธราภิวัฒนานนท์-
dc.contributor.authorฐิตินันท์ สุคนธ์ฤทธิกร, 2518--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-10-10T11:02:01Z-
dc.date.available2006-10-10T11:02:01Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741766718-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3213-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเครื่องดื่มต่อการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดด่างของคราบจุลินทรีย์ภายหลังรับประทานขนมปังอบกรอบเคลือบน้ำตาล วัดความเป็นกรดด่างของคราบจุลินทรีย์ด้วยวิธีเก็บตัวอย่างคราบจุลินทรีย์เป็นเวลานาน 30 นาที ภายหลังการรับประทาน ใน 6 รูปแบบอาหาร ได้แก่ การรับประทานขนมแป้งอบกรอบเคลือบน้ำตาลอย่างเดียว และการมีเครื่องดื่มตามหลังขนมแตกต่างกัน 5 ชนิด คือ น้ำเปล่า นมจืด นมหวานรสช็อกโกแลต นมเปรีย้ยวพร้อมดื่ม และน้ำอัดลม การวิจัยนี้ใช้รูปแบบเซลฟคอนโทรล โดยกลุ่มตัวอย่างมี 15 คน อายุ 13-14 ปี มีค่าฟันผุ อุด ถอน เฉลี่ย 15 ด้าน กลุ่มตัวอย่างงดแปรงฟันเป็นเวลาอย่างน้อย 48 ชั่วโมง และไม่รับประทานอาหารหรือดื่มเครื่องดื่มใดๆ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงก่อนทำการทดสอบ ผลการวิเคราะห์ทางสถิติของตัวแปรที่แสดงการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดด่างในคราบจุลินทรีย์ ระหว่างการรับประทานขนมปาร์ตี้อย่างเดียวกับการดื่มเครื่องดื่มตามหลังขนม ใช้สถิติทดสอบ Independent t-test พบว่าค่าความเป็นกรดด่างในคราบจุลินทรีย์ที่ต่ำสุดหลังการรับประทานอาหาร ระยะเวลาที่ความเป็นกรดด่างต่ำกว่า 5.7 และพื้นที่ใต้กราฟของการเปลี่ยนแปลงระดับความเป็นกรดด่างที่ต่ำกว่า 5.7 ของกรณีดื่มเครื่องดื่มตามหลังขนมไม่แตกต่างจากกรณีที่ไม่มีเครื่องดื่มตามหลังขนม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเครื่องดื่ม 5 ชนิดที่ดื่มตามหลังขนม โดยใช้สถิติ one-way ANOVA พบว่าการดื่มน้ำเปล่าทำให้ระยะเวลาที่ความเป็นกรดด่างต่ำกว่า 5.7 และพื้นที่ใต้กราฟของการเปลี่ยนแปลงระดับความเป็นกรดด่างที่ต่ำกว่า 5.7 มีค่าน้อย กว่าการดื่มนมเปรี้ยวพร้อมดื่มตามหลังขนมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.034 และ p = 0.011 ตามลำดับ) เมื่อพิจารณากราฟการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดด่างในช่วงเวลา 30 นาทีหลังจากรับประทานอาหาร จากผลการศึกษานี้พบว่าทุกรูปแบบของการรับประทานทั้งการมีและไม่มีเครื่องดื่มตามหลังขนม ทำให้ความเป็นกรดด่างในคราบจุลินทรีย์วัดได้ต่ำกว่า 5.7 มีค่าใกล้เคียงกันคืออยู่ในช่วง 5.2-5.5 แต่การดื่มเครื่องดื่มตามหลังขนมนั้นมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระยะเวลาที่ความเป็นกรดด่างต่ำกว่า 5.7 ได้ โดยการดื่มเครื่องดื่มที่ไม่เติมน้ำตาลจะมีระยะเวลาใกล้เคียงกับการรับประทานขนมอย่างเดียวคือประมาณ 7 นาที ในขณะที่การดื่มเครื่องดื่มที่เติมน้ำตาลจะเพิ่มระยะเวลาที่ความเป็นกรดด่างต่ำกว่า 5.7 ยาวนานมากกว่าการดื่มเครื่องดื่มที่ไม่เติมน้ำตาล และยาวนานมากกว่าการรับประทานขนมอย่างเดียว โดยเครื่องดื่มที่เพิ่มระยะเวลาความเป็นกรดด่างต่ำกว่า 5.7 มากที่สุดไปน้อยที่สุด คือ นมเปรี้ยวพร้อมดื่มเป็นเวลานาน 27 นาที นมหวานรสช็อกโกแลตเป็นเวลานาน 24 นาที และน้ำอัดลมเป็นเวลานาน 11 นาที ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThis study purposed to investigate the effect of drinks on plaque pH change when sugary snack was consumed alone and followed by 5 drinks (water, plain milk, chocolate flavored milk, drinking yoghurt, and soft drink), then there were 6 different patterns. Plaque sampling method was used to monitor plaque pH change for 30 minutes after consumption. This research design is self-controlled design. 15 young adult subjects were between the age of 13 and 14 and had mean DMFS 15 surfaces. They were asked to refrain from brushing for 48 hours and without having consumed food or drinks for at least 2 hours prior to the study. Comparison of the effect of drinks taken after sugary snack with consumed sugary snack alone used Independent t-test in statistical analyzed. It was found that no differences were significant, including those of the principal parameters of plaque pH change after consumption 'minimum plaque pH', 'time below pH 5.7' and 'area under curve[subscript pH 5.7]' (p>0.05). In addition, comparison among5 different drinks was analyzed by using one-way ANOVA statistics. It was found that time below pH 5.7 and area under curve[subscript pH 5.7] produced by drinking water after sugary snack were less than that created by drinking yoghurt (p=0.034 and p=0.011 respectively). According to the plaque pH curves, in relationship to drinks, all food patterns produced the similar minimum plaque pH and recorded pH below 5.7 were 5.2 - 5.5. But type of drinks might have effect on changing the time below pH 5.7. This study showed that the consumption of sugary snack alone or followed by non-added sugar drinks resulted similar time below pH 5.7 around 7 minutes. Whereas, drinks with added sugar had a potential to prolonged the time below pH 5.7 more than drinks without added sugar and after intake of sugary snack alone, which were most pronounced for drinking yoghurt (27 minutes), followed by chocolate flavored milk (24 minutes) and soft drink (11 minutes) in respective.en
dc.format.extent782236 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.425-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคราบจุลินทรีย์en
dc.subjectฟันผุen
dc.titleผลของเครื่องดื่มชนิดต่างๆ ที่ดื่มหลังการรับประทานขนมแป้งอบกรอบเคลือบน้ำตาลต่อค่าความเป็นกรดด่างของคราบจุลินทรีย์en
dc.title.alternativeEffect of drinks taken after sugary snack on plaque pHen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineทันตกรรมสำหรับเด็กen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorThipawan.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.425-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thitinun.pdf890.26 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.