Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32183
Title: Effect of media on stock returns in Thailand
Other Titles: ผลกระทบของสื่อต่อผลตอบแทนหลักทรัพย์ในประเทศ ไทย
Authors: Nijjirun Teeraphantuvat
Advisors: Sunti Tirapat
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy
Advisor's Email: Sunti.T@Chula.ac.th
Subjects: Stock exchanges -- Thailand
Rate of return
Mass media
ตลาดหลักทรัพย์ -- ไทย
อัตราผลตอบแทน
สื่อมวลชน
Issue Date: 2010
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: It has been empirically confirmed that media has a significant effect on the stock market. Mass media can alleviate information symmetry as well as informational frictions to a certain extent and affect security pricing even if it does not provide genuine news. The paper investigates this hypothesis by empirically studying the effect of media coverage on stock returns. Using non-regression and regression approaches, this paper also hopes to contribute to the expanding research within specific geographical region by investigating Thai data and examining the media effect in Thai stock market. The media effect found in the non-regression approach is a total opposite to the regression approach. However, the regression approach provides a stronger evidence to the media effect, as risk factors such as market, size and book-to-market factors are properly captured and controlled in CAPM and Fama-French three-factor model. It is found that using a media trading strategy that takes a long position on stocks with low media coverage and short position on stocks with high media coverage, stocks with high media coverage outperform stocks with low media coverage, even after controlling for firm characteristics such as size and book-to-market ratios. The result is a total opposite to the media effect found in the U.S.
Other Abstract: การศึกษาเชิงประจักษ์ในอดีตได้ยืนยันให้เห็นว่าสื่อมีผลกระทบที่สำคัญต่อตลาดหลักทรัพย์ สื่อมีประสิทธิภาพในการลดความไม่สมมาตรของสารสนเทศ (information asymmetry) ทำให้มีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ในตลาดถึงแม้ว่าสื่ออาจไม่สามารถให้ ข้อมูลข่าวที่แท้จริง บทความวิจัยนี้ตรวจสอบสมมุติฐานดังกล่าวโดยการศึกษาเชิงประจักษ์ของ ผลกระทบของขอบเขตหรือจำนวนบทความของการรายงานข่าวของสื่อหนังสือพิมพ์ (media coverage) ต่อผลตอบแทนหลักทรัพย์ โดยประยุกต์การวิเคราะห์แบบถัวเฉลี่ยและการ วิเคราะห์การถดถอย (regression) บทความวิจัยคาดหวังที่จะสนับสนุนงานวิจัยในสาขาวิชานี้ ในระดับภูมิศาสตร์โดยตรวจสอบข้อมูลในประเทศไทย เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อต่อผลตอบแทนหลักทรัพย์ในประเทศไทย ผลที่ได้จากสองวิธีของการวิเคราะห์นั้นแตกต่างกัน อย่างสิ้นเชิง อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์การถดถอยให้หลักฐานของผลกระทบของสื่อที่ชัดเจน กว่า โดยนำปัจจัยความเสี่ยง เช่น ปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับตลาด (market factor) ขนาด (size factor) และอัตราส่วนมูลค่าบัญชีส่วนมูลค่าตลาด (book-to-market factor) เข้ามาพิจารณาร่วมใน CAPM และ Fama-French three-factor model จากการซื้อหลักทรัพย์ที่มีขอบเขต หรือจำนวนบทความของการรายงานข่าวของสื่อหนังสือพิมพ์น้อย และการขายหลักทรัพย์ที่มี ขอบเขตหรือจำนวนบทความของการรายงานข่าวของสื่อหนังสือพิมพ์มาก ผลงานวิจัยพบว่า หลักทรัพย์ที่มีขอบเขตหรือจำนวนบทความของการรายงานข่าวในสื่อหนังสือพิมพ์มากให้ ผลตอบแทนสูงกว่าหลักทรัพย์ที่มีขอบเขตหรือจำนวนบทความของการรายงานข่าวในสื่อ หนังสือพิมพ์น้อย แม้กระทั่งในกรณีที่มีการควบคุมลักษณะเฉพาะของหลักทรัพย์ เช่น ขนาด และอัตราส่วนมูลค่าบัญชีส่วนมูลค่าตลาด ซึ่งผลงานวิจัยนี้ตรงกันข้ามกับผลกระทบของสื่อต่อผลตอบแทนหลักทรัพย์ในประเทศสหรัฐอเมริกาอย่างสิ้นเชิง
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Finance
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32183
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1164
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2010.1164
Type: Thesis
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nijjirun_te.pdf937.83 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.