Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32217
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลทิพย์ กมลวารินทร์-
dc.contributor.advisorยง ภู่วรวรรณ-
dc.contributor.authorเอกรัฐ ทรัพย์โชคพูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-17T13:31:27Z-
dc.date.available2013-06-17T13:31:27Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32217-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการติดเชื้อ Human papillomavirus (HPV) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง HPV ชนิด 16 ยังไม่เป็นที่แน่ชัดในกลไกที่ ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูก แต่เชื่อว่าการเกิดมะเร็งได้ไวรัสต้องมีการการแทรกตัวเข้าสู่ยีนของเจ้าบ้าน จากข้อมูลที่มี อยู่ในปัจจุบันพบว่า เมื่อไวรัสมีการเพิ่มจำนวน จะพบการแสดงออกของยีน E4 และยีน E4 จะมีปริมาณมากในระยะ ก่อนมะเร็ง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดระดับการแสดงออกของยีน E4 ของ HPV16 ในระยะต่างๆ ตั้งแต่ รอยโรคปกติจนถึงรอยโรคมะเร็ง ด้วยการตรวจหา mRNA โดยเทคนิค single-step Real-Time RT-PCR จาก ตัวอย่างเซลล์ปากมดลูกที่มีการติดเชื้อ HPV16 ทั้งหมด 80 ตัวอย่างและมีผลตรวจทาง cytology เป็น normal, LSIL, HSIL และ cancer จำนวนอย่างละ 20 ตัวอย่าง พบว่าการแสดงออกของยีน E4 พบได้ ทุกระยะของรอยโรค ยกเว้น เซลล์ปกติ โดยที่มีการแสดงออกของยีน E4 ในระยะ LSIL , HSIL และ cancer เท่ากับ 1.30 x10⁵, 1.38 x10⁷, และ 1.19 x10⁴ เท่าเมื่อเทียบกับเซลล์ปกติ (ตามลำดับ) ซึ่งการแสดงออกของแต่ละรอยโรคก็มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.01) นอกจากนี้ผลของการตรวจหาการแสดงออกของยีน E4 เปรียบเทียบระหว่างตัวอย่าง ที่เก็บด้วยวิธีป้ายเซลล์ (Pap smear) และ วิธีตัดชิ้นเซลล์ (biopsy) ในตัวอย่างเดียวกันไม่พบความแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (P = 0.396) ผลจากการศึกษาในครั้งนี้อาจนำไปสู่การศึกษาเพิ่มเติมสำหรับการใช้ยีน E4 ของ HPV16 ในการตรวจคัดกรองหรือการตรวจเสริมเพื่อยืนยันรอยโรคก่อนมะเร็งของปากมดลูกต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe infections of Human Papillomavirus (HPV), especially HPV type 16 (HPV16) in some unclear circumstances progress to cervical cancer. The viral infections may result in latent stage or integration into host gene to develop viral carcinogenesis. E4 expression reflects the viral replication and translation. Twenty samples with proven HPV16 infection of each cytologic category; low grade squamous intraepithelial lesion (LSIL), high grade squamous intraepithelial lesion (HSIL), squamous carcinoma (SCC) and negative for intraepithelial lesion (NIL) were investigated by single-step Realtime RT PCR. It was found that the E4 mRNA of HPV16 was highly expressed in the HSIL, which increased 1.38 x10⁷ fold as compared to the NIL (P < 0.01), whereas LSIL and SCC were increased 1.30 x10⁵ fold (P < 0.01) and 1.19 x10⁴ fold (P < 0.01), respectively. E4 mRNA expression of Pap smear and biopsy sample were compared by this technique and found that there was no difference in mean expression (P = 0.396). From these results, determination of E4 expression could be performed on Pap smear samples or biopsy samples. The authors speculate that E4 expression assay may be useful in determining precancerous and cancer stages of the patients for early detection and treatment.en_US
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1462-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectปากมดลูก -- มะเร็งen_US
dc.subjectการแสดงออกของยีนen_US
dc.subjectCervix uteri -- Canceren_US
dc.subjectGene expressionen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการแสดงออกของยีน E4 ใน Human Papillomavirus (HPV) กับการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพของปากมดลูกen_US
dc.title.alternativeThe relationship between E4 expressions of Human Papillomavirus (HPV) in different cervical cytologic categoriesen_US
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineชีวเคมีทางการแพทย์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorYong.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1462-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
akerat_su.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.