Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32264
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราโมทย์ เดชะอำไพ-
dc.contributor.authorอภิวัฒน์ ชื่นจำลอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-18T08:53:04Z-
dc.date.available2013-06-18T08:53:04Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32264-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractโรคติดเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาลเป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ทำให้อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น ทั้งนี้โรงพยาบาลในกรุงเทพฯ มีจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคติดเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาลค่อนข้างสูง สาเหตุการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อแบคทีเรียดื้อยานั้น เนื่องมาจากการสัมผัสระหว่างบุคลากรทางการแพทย์กับผู้ป่วย เมื่อบุคลากรทำหัตถการกับผู้ป่วยที่มีเชื้อแบคทีเรียดื้อยา จากนั้นย้ายไปทำหัตถการกับผู้ป่วยรายอื่นที่ไม่ได้มีเชื้ออยู่ในร่างกาย โดยที่บุคลากรนั้นยังไม่ได้ล้างมือหรือล้างมือไม่ถูกวิธี ทำให้เกิดโอกาสที่ผู้ป่วยนั้นๆได้รับเชื้อแบคทีเรียดื้อยา ก่อให้เกิดผลเสียต่างๆตามมา เช่น ค่ารักษาที่เพิ่มมากขึ้น และโรคแทรกซ้อนต่างๆ ที่จะเกิดจากเชื้อแบคทีเรียดื้อยา ดังนั้นการลดจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคติดเชื้อดื้อยาจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง งานวิจัยนี้มุ่งเน้นในการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลโดยแบคทีเรียดื้อยาแบบแยกบุคลากรเป็น 3 ประเภท คือ แพทย์ พยาบาล และบุคลากรอื่นๆ (เช่น นักศึกษาแพทย์ นักกายภาพบำบัด เป็นต้น) แบบจำลองทางคณิตศาสตร์นั้นใช้ในการทำนายจำนวนผู้ป่วยในอนาคตโดยอาศัยข้อมูลเบื้องต้นจากโรงพยาบาล โดยแยกผู้ป่วยออกเป็น 3 ประเภท คือ ผู้ป่วยที่ไม่ติดเชื้อแบคทีเรียดื้อยา ผู้ป่วยที่มีเชื้อแบคทีเรียดื้อยาแฝงอยู่ในร่างกาย และผู้ป่วยที่ติดเชื้อแบคทีเรียดื้อยา จากนั้นทำการเทียบเคียงผลลัพธ์จากแบบจำลองกับข้อมูลจริงที่ได้สำรวจจากทางโรงพยาบาล ซึ่งผลลัพธ์จากแบบจำลองมีความผิดพลาดจากข้อมูลจริงเล็กน้อย และอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ จึงสามารถนำแบบจำลองไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริงได้en_US
dc.description.abstractalternativeInfection by antibiotic resistant bacteria is a cause of increasing of mortality of patients in a hospital. In Bangkok, a number of infected patients in hospital is high. The bacterial transmission causes by contacting between Health Care Workers (HCWs) and patients. The transmission is happened when HCWs visit to infected patients and then visit to uninfected patients without washing hands or improper hand washing. The infection by antibiotic resistant bacteria leads to many problems such as more expensive medical treatment and incurring disease. Accordingly, decreasing the transmission of antibiotic resistant bacteria is very important. This research focuses on creating mathematical model for hospital infections by antibiotic resistant bacteria for 3 types of HCWs which are doctors, nurses, and other HCWs (such as medical students, physiotherapists, etc.). The mathematical model is used for prediction of the numbers of patients by apply initial data from hospital. The patients are divided into 3 types which are uninfected patients, colonized patients, and infected patients. Then, the results are compared using the model with the collected data from hospital. The results from the model have slight numerical inaccuracy that could be acceptable. Thus, the model can be further applied to the real situation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.341-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรคติดเชื้อ -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectโรคติดต่อ -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectการติดเชื้อ -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectการดื้อยาในจุลินทรีย์en_US
dc.subjectInfection -- Mathematical modelsen_US
dc.subjectCommunicable diseases -- Mathematical modelsen_US
dc.subjectDrug resistance in microorganismsen_US
dc.titleแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลโดยแบคทีเรียดื้อยา แบบแยกบุคลากรเป็นสามประเภทen_US
dc.title.alternativeMathematical modeling for hospital infections by antibiotic resistant bacteria for three types of health care workersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPramote.D@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.341-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
apiwat_ch.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.