Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32461
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล ว่องวาณิช-
dc.contributor.authorสุดาพรรณ บินนอก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-25T03:17:32Z-
dc.date.available2013-06-25T03:17:32Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32461-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับของจิตอาสาของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจำแนกตามสาขาที่เรียน 2) เพื่อพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของจิตอาสาของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ 3) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงสาเหตุของจิตอาสาของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นิสิตระดับปริญญาบัณฑิตในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 720 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถามปัจจัยที่ส่งผลต่อจิตอาสาและแบบวัดจิตอาสาของนิสิต การวิเคราะห์ข้อมูลใช้หลักการวิเคราะห์โมเดลลิสเรล ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นิสิตระดับปริญญาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนจิตอาสาอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง ปัจจัยที่ส่งผลต่อจิตอาสาของนิสิตมี 3 ด้าน คือ ปัจจัยจิตลักษณะ ปัจจัยด้านสังคม และปัจจัยสื่อมวลชน 2. โมเดลเชิงสาเหตุของจิตอาสาของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่พัฒนาขึ้นมีตัวแปรแฝง 5 ตัว และตัวแปรสังเกตได้ 13 ตัว โมเดลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X[superscript 2] = 31.821, p = 0.282, df = 28, GFI = 0.993, AGFI = 0.978, RMR = 0.010) ทั้งนี้ตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของระดับจิตอาสาได้ร้อยละ 72.10en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study and to compare the volunteer spirit of Chulalongkorn university undergraduate students, 2) to develop a causal model of the volunteer spirit of undergraduate students, and 3) to test a causal model of the volunteer spirit of Chulalongkorn university undergraduate students. The research sample consisted of 720 Chulalongkorn university undergraduate students. The data were collected by a questionnaire and analyzed by LISREL analysis. The research findings were as follows: 1) on average, the students' volunteer spirit was at a moderate level. Three factors affecting volunteer spirit were psychological factor, social factor, and mas media factor. 2) the causal model neatly fitted the empirical data (X[superscript 2] = 31.821, p = 0.282, df = 28, GFI = 0.993, AGFI = 0.978, RMR = 0.010). The model accounted for 72.10% of variance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.391-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- บัณฑิตen_US
dc.subjectการสร้างจิตสำนึกen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางสังคมen_US
dc.subjectChulalongkorn University -- College graduatesen_US
dc.subjectConscientizationen_US
dc.subjectSocial participationen_US
dc.titleโมเดลเชิงสาเหตุของจิตอาสาของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeA causal model of volunteer spirit of Chulalongkorn University undergraduate studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorwsuwimon@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.391-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sudaphan_bi.pdf7.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.