Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32525
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอำไพ ตีรณสาร-
dc.contributor.authorสุมนา สัมมาทิพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2013-06-26T09:18:51Z-
dc.date.available2013-06-26T09:18:51Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32525-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสิ่งแวดล้อมในกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปศึกษา ในด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมทางสังคม ในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากครูผู้สอนจำนวน 250 คน การสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอนและการสังเกตการสอนที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ผู้บริหาร แบบสัมภาษณ์ครูผู้สอน และแบบสังเกต นำเสนอในรูปความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า โรงเรียนส่วนใหญ่มีระดับสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ อยู่ในระดับมาก (X bar = 3.80) โดยมุ่งเน้นด้านความสว่างในห้องเรียนมีเพียงพอต่อการมองเห็นมากที่สุด (X bar = 4.32) สิ่งแวดล้อมด้านสังคม อยู่ในระดับมาก (X bar = 3.96) โดยพบว่า เด็กมีความสุข สนุกสนาน ยิ้มแย้ม แจ่มใส ร่าเริง ขณะทำกิจกรรมศิลปะ มากที่สุด (X bar = 4.41) จากการสังเกตพบว่า ครูดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดโดยใช้เทคนิคต่างๆ ในการสอน เช่น การให้กำลังใจ ให้คำชมเชย และการสร้างบรรยากาศให้สนุกสนานเพื่อให้เด็กสนใจทำกิจกรรม ห้องเรียนศิลปะแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ห้องเรียนที่ประกอบด้วยมุมต่างๆ หลายมุมแต่มุมจัดวางไว้ชิดผนัง เว้นพื้นที่ส่วนใหญ่ไว้สำหรับทำกิจกรรมศิลปะ โต๊ะนักเรียนอยู่กลางห้อง และแบบที่เป็นห้องโล่ง ภายในห้องมีเฉพาะวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานศิลปะเท่านั้น มีโต๊ะวางไว้กลางห้อง และยังมีพื้นที่โล่งสำหรับเด็กใช้ทำกิจกรรมหรือเดินเล่นได้อย่างอิสระen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the environment of art creation activity in the aspects of physical environment and social environment. The research focused mainly on kindergarten schools under the Office of the Private Education Commission in Bangkok. The instruments included a set of questionnaire, an interview and an observation form. The sample groups composed of 250 teachers responding the questionnaire, 12 administrators and 12 teachers for the interviews in the schools where environment managements were also observed. The data were analyzed by means of frequency, percentage, arithmetic means and standard deviation. The results indicated that the teachers agreed at the high level upon the physical and social environmental with the mean of 3.80 and 3.96 respectively. The highest level of agreement of the physical environment was the light and clarity of the room (X bar = 4.32). In terms of classroom social environment, the highest agreement was the children’s happiness and enjoyment during the art activities. By means of observation, it was found that the teachers worked with the children closely and used various teaching techniques including encouraging, praising and creating enjoyable learning environment. Art classrooms were arranged into 2 styles. First, the rooms with activity tables around the wall with large space and working area in the middle. Second, an open space rooms with learning supplies and equipments specifically for art activities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1636-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศิลปะ -- การศึกษาและการสอน (ปฐมวัย) -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นอนุบาล -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นอนุบาล -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectสภาพแวดล้อมห้องเรียนen_US
dc.subjectการจัดการชั้นเรียนen_US
dc.subjectArts -- Study and teaching (Early childhood) -- Activity programsen_US
dc.subjectKindergarten -- Activity programsen_US
dc.subjectKindergarten -- Thailand -- Bangkoken_US
dc.subjectClassroom environmenten_US
dc.subjectClassroom managementen_US
dc.titleการศึกษาการจัดสิ่งแวดล้อมสำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปศึกษาระดับอนุบาลในโรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeA study of environmental management for kindergarten art activities in schools under the Office of the Private Education Commission in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1636-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sumana_su.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.