Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเลอสรวง เมฆสุต-
dc.contributor.advisorประพันธ์ คูชลธารา-
dc.contributor.authorชัยณรงค์ หาญชนะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-02T03:37:43Z-
dc.date.available2013-07-02T03:37:43Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32625-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลของตัวแปรดำเนินการต่อการปล่อยฟลูแก๊ส จากการเผาไหม้ร่วม ของถ่านหินและชีวมวลในหม้อกำเนิดไอน้ำฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน โดยใช้ถ่านหินซับบิทู มินัสและชีวมวลชนิดต่างๆ ได้แก่ กะลาปาล์ม กะลามะพร้าว กระถินยักษ์ และยูคาลิปตัส ป้อน เชื้อเพลิงที่อัตราคงที่ 7 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ป้อนอากาศปฐมภูมิอัตราคงที่ 300 ลิตรต่อนาที จากนั้นทำการสร้างเครื่องผลิตไอน้ำ ซึ่งมีส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วนคือ ส่วนอุ่นน้ำ ส่วน แลกเปลี่ยนความร้อน และส่วนเก็บไอน้ำ ตัวแปรที่ทำการศึกษาคือ สัดส่วนของชีวมวลกับถ่าน หิน ตำแหน่งการป้อนอากาศทุติยภูมิ และประสิทธิภาพของเครื่องผลิตไอน้ำ จากผลการ ทดลองพบว่า การเผาไหม้ของถ่านหินกับกะลาปาล์มจะให้อุณหภูมิโดยเฉลี่ยตลอดความสูง ของไรเซอร์สูงกว่าการเผาไหม้ของถ่านหินกับกะลามะพร้าว กระถินยักษ์ และยูคาลิปตัส ซึ่ง สอดคล้องกับค่าพลังงานความร้อนของกะลาปาล์ม การเพิ่มสัดส่วนส่วนของชีวมวลจะส่งผลให้ ความเข้มข้นของ (NOx) มีปริมาณลดลง ในส่วนการเผาไหม้เชื้อเพลิงผสมชีวมวล การป้อน อากาศทุติยภูมิ ที่ตำแหน่ง 1 เมตร จะมีอัตราการปล่อยแก๊สไนโตรเจนออกไซด์มากที่สุด สำหรับเครื่องผลิตไอน้ำ สามารถผลิตไอน้ำอุณหภูมิได้สูงสุดเท่ากับ 160 องศาเซลเซียส และ ความดันเท่ากับ 2.6 บาร์ เมื่อใช้เชื้อเพลิงถ่านหินร้อยละ 100 ในการเผาไหม้ และอุณหภูมิไอน้ำ ผลิตได้สูงสุดเท่ากับ 145 องศาเซลเซียส และความดันเท่ากับ 2.3 บาร์ เมื่อใช้เชื้อเพลิงถ่านหิน ต่อกะลาปาล์ม ที่สัดส่วน 70:30 ในการเผาไหม้ ประสิทธิภาพเครื่องผลิตไอน้ำที่ได้เท่ากับร้อย ละ 22.44en_US
dc.description.abstractalternativeThis research studied the Effects of operating parameters on gaseous emission during co-combustion of coal and biomass in circulating fluidized bed boiler (CFBB). The sub-bituminous coal and various types of biomass; palm shell, coconut shell, Giant Leucaena and Eucalyptus, were used in co-combustion. Fuel feed rate, primary air feed rate and solid circulation rate (silica sand return rate) were kept constant at 7 kg/hr., 300 l/min and 300 kg/hr., respectively. The CFB was attached with the steam generator which consists of 3 main parts, the warm space, the exchanger and the steam space. Here, effects of coal to biomass ratio in the mixed fuel, the secondary air feed position and the steam production efficiency were investigated. The results showed that the combustion of coal and palm shell gave higher temperature than the combustions of another biomass, due to the heating values of this biomass. An increase in mass ratio of biomass and coal was observed to decrease concentration of NOX. In co-combustion, the secondary air that entered at the position of 1 m. was the cause of maximum rate of nitrogen oxide emission. The CFBB system was then installed with steam production. This system can generate steam with the temperature of 160oC and the pressure of 2.6 bars when using 100% coal and steam with the temperature of 145oC and the pressure of 2.3 bars when using the ratio of coal and palm shell 70:30. Steam production efficiency was 22.44%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.398-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงen_US
dc.subjectพลังงานชีวมวลen_US
dc.subjectการเผาไหม้en_US
dc.subjectถ่านหิน -- การเผาไหม้en_US
dc.subjectชีวมวล -- การเผาไหม้en_US
dc.subjectฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนen_US
dc.subjectFuel-
dc.subjectBiomass energy-
dc.subjectCombustion-
dc.subjectCoal -- Biomass-
dc.subjectBiomass -- Biomass-
dc.titleผลของตัวแปรดำเนินการต่อการปล่อยแก๊สระหว่างการเผาไหม้ร่วมของถ่านหินและชีวมวลในหม้อกำเนิดไอน้ำฟลูอิไดซ์เบสแบบหมุนเวียนen_US
dc.title.alternativeEffects of operating parameters on gaseous emission during co-combustion of coal and biomass in circulating fluidized bed boileren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorLursuang.M@Chula.ac.th-
dc.email.advisorprapank@sc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.398-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chainarong_ha.pdf4.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.