Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32648
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประภาวดี สืบสนธิ์
dc.contributor.authorยุพิน แสงทอง
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-07-02T04:48:49Z
dc.date.available2013-07-02T04:48:49Z
dc.date.issued2537
dc.identifier.isbn9745848948
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32648
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสารนิเทศที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แสวงหาเพื่อใช้ตัดสินใจเลือกคณะในสถาบันระดับอุดมศึกษา ช่องทางการแสวงหาสารนิเทศ แหล่งสารนิเทศที่นักเรียนเลือกใช้ สาเหตุในการเลือกแหล่ง ความพึงพอใจต่อสารนิเทศที่ได้รับจากแหล่งนั้น รวมทั้งปัญหาและการแก้ปัญหาระหว่างการแสวงหาสารนิเทศ ผลการวิจัยพบว่า สารนิเทศด้านสังคมเป็นสารนิเทศที่นักเรียนแสวงหาเพื่อการตัดสินใจเลือกคณะในระดับมากเป็นอันดับแรก โดยมี ตนเอง ซึ่งหมายถึง ความรู้ ความคิด และประสบการณ์ที่สะสมอยู่ในตน และอาจารย์แนะแนว เป็นแหล่งสารนิเทศ 2 แหล่งแรกที่นักเรียนใช้แสวงหาสารนิเทศ ด้วยเหตุผลที่ให้สารนิเทศนำมาประกอบการตัดสินใจเลือกคณะได้ รวมทั้งให้ข้อมูลที่เข้าใจง่าย ในระดับที่เท่ากันนักเรียนมีความพึงพอใจมากต่อสารนิเทศที่ได้รับจากแหล่งสารนิเทศดังกล่าว ช่องทางสารนิเทศที่นักเรียน เลือกใช้มากกว่าช่องทางอื่น คือ ตนเอง ส่วนเรื่องปัญหาในการแสวงหาสารนิเทศ พบว่า ปัญหาข้อมูลมีน้อย และผู้ให้คำปรึกษามีน้อยไม่มีเพียงพอแก่ความต้องการ เป็น 2 ปัญหาแรกในการแสวงหาสารนิเทศเพื่อการตัดสินใจเลือกคณะ ปัญหาดังกล่าวนักเรียนแก้ไขด้วยการหาข้อมูลเพิ่มและแหล่งข้อมูลใหม่มากกว่าวิธีอื่น ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางแก่อาจารย์แนะแนวและบรรณารักษ์ห้องสมุด โรงเรียนมัธยมศึกษาในการจัดหาทรัพยากรสารนิเทศได้ตรงตามความต้องการของนักเรียน รวมทั้งเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษาต่อได้สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study the information seeked by 263 Mathayom suksa VI students for making decision in selection faculties to pursue higher education; the information channels and information sources chosen to seek information, and the satisfaction about information received from those sources. In addition, the problems and the ways to solve the problems are studied as well. The research findings are that most of the information the students seek in order to help them select faculties is social information. The students themselves and guidance teacher are the first two significant information sources due to the cause that both sources can give relevant information that help making decision and the received information is easy to understand. The students are much satisfied with the information gained from these sources. In the case of problems in information seeking, lack of information they need and lack of counselors who can give some useful advices are the first two problems. Result from this study are implementable for the guidance teachers and school librarians in the secondary schools to collect and manage information, as well as to arrange some activities related to continuing education in order to respond to the needs of the students.
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการแสวงหาสารนิเทศเพื่อการตัดสินใจเลือกคณะในสถาบันระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeInformation seexing of mathayom suksa VI students for selecting faculties in institute of higher education in Bangkok metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yupin_sa_front.pdf5.17 MBAdobe PDFView/Open
Yupin_sa_ch1.pdf4.21 MBAdobe PDFView/Open
Yupin_sa_ch2.pdf9.36 MBAdobe PDFView/Open
Yupin_sa_ch3.pdf3.64 MBAdobe PDFView/Open
Yupin_sa_ch4.pdf34.01 MBAdobe PDFView/Open
Yupin_sa_ch5.pdf10.13 MBAdobe PDFView/Open
Yupin_sa_back.pdf5.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.