Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3279
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคัคนางค์ มณีศรีen_US
dc.contributor.authorนนทพรรณ เอกตาแสง, 2515-en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2007-01-04T06:30:04Zen_US
dc.date.available2007-01-04T06:30:04Zen_US
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.isbn9743472096en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3279en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractศึกษาผลของการเสนอสารตามแนวทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรค และการให้แรงสนับสนุนทางสังคม ที่มีต่อพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ และวิทยาลัยพยาบาลกองทัพอากาศ สถาบันละ 40 คน รวมจำนวน 120 คน จัดแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง ที่ได้รับการเสนอสารและแรงสนับสนุนทางสังคม กลุ่มทดลองที่ได้รับสารเพียงอย่างเดียว และกลุ่มควบคุม ซึ่งไม่ได้รับทั้งสารและแรงสนับสนุนทางสังคม ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังการเสนอสาร ผู้ที่ได้รับการเสนอสารมีการรับรู้ความร้ายแรงของโรคกระดูกพรุน การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองด้านการออกกำลังกายแบบรับน้ำหนัก และความเชื่อมั่นในประสิทธิผลของการปฏิบัติตน เพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุนด้วยการออกกำลังกายแบบรับน้ำหนัก สูงกว่าก่อนการเสนอสาร 2. ผู้ที่ได้รับการเสนอสารและแรงสนับสนุนทางสังคม มีความตั้งใจที่จะออกกำลังกายแบบรับน้ำหนัก หลังการเสนอสารสูงกว่าก่อนการเสนอสาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลเช่นนี้ไม่พบในกลุ่มผู้ที่ได้รับการเสนอสารเพียงอย่างเดียว 3. ผู้ที่ได้รับการเสนอสารและแรงสนับสนุนทางสังคม มีพฤติกรรมการออกกำลังกายแบบรับน้ำหนักหลังการเสนอสาร สูงกว่าก่อนการเสนอสาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ผลเช่นนี้ไม่พบในกลุ่มผู้ที่ได้รับการเสนอสารเพียงอย่างเดียว 4. หลังการเสนอสาร ผู้ที่ได้รับการเสนอสารและแรงสนับสนุนทางสังคม มีความตั้งใจที่จะออกกำลังกายแบบรับน้ำหนัก มากกว่าผู้ที่ไม่ได้รับทั้งการเสนอสารและแรงสนับสนุนทางสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในขณะที่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ระหว่างผู้ที่ได้รับการเสนอสารเพียงอย่างเดียวกับ ผู้ที่ไม่ได้รับทั้งการเสนอสารและแรงสนับสนุนทางสังคม 5. ผู้ที่ได้รับการเสนอสารและแรงสนับสนุนทางสังคม และผู้ที่ได้รับการเสนอสารเพียงอย่างเดียว มีพฤติกรรมออกกำลังกายแบบรับน้ำหนักอย่างต่อเนื่อง มากกว่าผู้ที่ได้รับทั้งการเสนอสารและแรงสนับสนุนทางสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างผู้ที่ได้รับการเสนอสาร และแรงสนับสนุนทางสังคม กับผู้ที่ได้รับการเสนอสารเพียงอย่างเดียวen_US
dc.description.abstractalternativeTo study the effect of message presentation base on Protection Motivation Theory and social support on the exercise adherence behavior. Subjects were 120 first-year nurse students at Naval Nursing College, Police Nursing College, and Airforce Nursing College, 40 each. Subjects were assigned to 3 experimental conditions: receiving message and social support, receiving message only, and receiving neither message nor social support. Results show that: (1) After message presentation, perceptions of vulnerability, severity, respose efficacy, and self-efficacy of those who received message presentation are higher than before message presentation. (2) After message presentation, those who received message presentation and social support have higher intention to do weight-bearing exercise (p<.01). This effect is not found in those who received message presentation only. (3) Those who received message presentation and social support exercise more after the message presentation (p<.001). This effect is not found in those who received message presentation only. (4) Those who received message presentation and social support have higher intention to do weight-bearing exercise than those who received neither message presentation nor social support (p<.05). While there is no significant difference between those who received message presentation only and those who received neither message presentation nor social support. (5) Those who received message presentation and social support and those who received message presentation only perform exercise adherence behavior more than those who received neither message presentation nor social support (p<.001). But there is no significant difference between those who received message presentation and social supports and those who received message presentation only.en_US
dc.format.extent731302 bytesen_US
dc.format.extent1843 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.format.mimetypetext/plain-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectการออกกำลังกายen_US
dc.subjectกระดูกพรุนen_US
dc.titleการจูงใจให้เกิดพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง โดยการเสนอสารและแรงสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.title.alternativeMotivating exercise adherence behavior by message presentation and social supporten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาสังคมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorkakanang.M@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nontapan.pdf812.87 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.