Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3284
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์en_US
dc.contributor.authorอังคณา อ่อนธานี, 2516-en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2007-01-04T08:16:14Zen_US
dc.date.available2007-01-04T08:16:14Zen_US
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.isbn9743341137en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3284en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอนุมานจำนวนจากเงื่อนไขการนับและเงื่อนไขการย้ายตำแหน่งในเด็กอายุ 3 ถึง 5 ปี กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กนักเรียนชั้นอนุบาลที่มีอายุ 3 ถึง 5 ปี ของโรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี จำนวน 216 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 3 กลุ่ม ตามระดับอายุ 3, 4, และ 5 ปี กลุ่มละ 72 คน เป็นชาย 36 คน หญิง 36 คน เพื่อทดสอบความสามารถในการอนุมานจำนวนของเด็กใน 2 เงื่อนไขคือ เงื่อนไขการนับและเงื่อนไขการย้ายตำแหน่ง โดยการทดสอบเด็กทีละคน ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กอายุ 3 ถึง 5 ปี มีคะแนนความสามารถในการอนุมานจำนวนในเงื่อนไขการนับครั้งแรกสูงกว่าในเงื่อนไขการย้ายตำแหน่งครั้งแรก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่เด็กอายุ 5 ปี มีความสามารถในการอนุมานจำนวนสูงกว่าเด็กอายุ 3 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. เด็กอายุ 3 ปี ถึง 5 ปี ในกลุ่มที่ได้รับการทดสอบในเงื่อนไขการนับ-การย้ายตำแหน่ง มีคะแนนความสามารถในการอนุมานจำนวนในเงื่อนไขการย้ายตำแหน่งสูงกว่าเด็กที่ได้รับการทดสอบในเงื่อนไขการย้ายตำแหน่ง-การนับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่เด็กอายุ 5 ปี มีความสามารถในการอนุมานจำนวนในเงื่อนไขการย้ายตำแหน่งสูงกว่าเด็กอายุ 3 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare numerical inference ability of three-to-five-year-old children in the count condition and the move condition. The subjects were 216 pre-school children from Anubal Maung Uthaithanee School, aged 3, 4 and 5 years old. There were 36 boys and 36 girls in each age group. Children's numerical inference ability was tested in the count condition and the move condition. The children were tested individually. The results show that: 1. Three-to-five-year-old children demonstrated significantly better numerical inference ability in the count-first condition than the move-first condition (p<.05). Five-year-old children's numerical inference ability was significantly better than the three-year olds' (p<.05) 2. Three-to-five-year-old children who were tested in the count-move condition demonstrated significantly better numerical inference ability in the move condition than those who were tested in the move-count condition (p<.05). Five-year-old children's numerical inference ability in the move condition was significantly better than the three-year olds' (p<.05).en_US
dc.format.extent14543060 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.format.mimetypetext/plain-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการนับen_US
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียนen_US
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถในการอนุมานจำนวนของเด็กอายุ 3 ถึง 5 ปีen_US
dc.title.alternativeA comparison of numerical inference ability in three-to-five-year-old childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPenpilai.R@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Angkana.pdf4.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.