Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา รู้กิจการพานิช-
dc.contributor.authorวัลลภ บุญธรรมส่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-06T07:21:27Z-
dc.date.available2013-07-06T07:21:27Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32873-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractปรับปรุงการผลิตในสายการประกอบขั้นสุดท้ายของรถบรรทุกเชิงพาณิชย์ ขนาด 1 ตัน เพื่อรองรับวิธีการผลิตแบบชุดละ 1 คัน ผลที่ได้จากการปรับปรุงนี้จะเป็นแนวทางให้แก่ขั้นตอนการผลิตอื่นๆ ในการลดความสูญเสียที่เกิดจากการผลิตแบบเผื่อ การศึกษานี้มีขั้นตอนการดำเนินงานประกอบไปด้วย การเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน ได้แก่ วิธีการเตรียมชิ้นส่วนรถยนต์ วิธีการขนส่งชิ้นส่วนรถยนต์จากคลังไปสายการประกอบขั้นสุดท้าย การจัดการพื้นที่ข้างสายการประกอบ และ วิธีการประกอบรถยนต์ ในการทำวิจัยได้ใช้แผนผังต้นไม้ แนวคิดแบบลีน การศึกษาเวลา และหลักการของ ECRS มาเป็นเครื่องมือใช้ในการวิเคราะห์ และหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ผลลัพธ์จากการศึกษานี้ พบว่าสามารถทำการประกอบรถยนต์รองรับวิธีการผลิตแบบชุดละ 1 คันได้ โดยที่ยังคงรักษาคุณภาพของรถยนต์ประกอบเสร็จได้เท่าเดิม คือ 97.5% ทั้งนี้ได้ลดพื้นที่สำหรับวางชิ้นส่วนข้างสายการประกอบลง 65% และลดเวลาการทำงานของพนักงานประกอบรถยนต์ต่อคันลง 11.6%en_US
dc.description.abstractalternativeTo improve the production of the final assembly process of 1-ton commercial vehicles in order to support the production of 1 car per batch. The result from this study would be the guideline to other processes in order to reduce losses of make to stock production. The operation of this study comprised of change of conventional procedures. They were assembly part preparation, part supply from warehouse to the assembly line, arrangement of the area next to the assembly line and assembly method. This study used tree diagram, lean concept, time study and ECRS principle. The result from this study was founded that the improved procedure could be support 1 car per batch production while the quality of the assembly was not changed, equally 97.5%. In addition, the area next to the production line and assembly operation time can reduce 65% and 11.6%, respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1204-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมรถบรรทุกen_US
dc.subjectการควบคุมการผลิตen_US
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen_US
dc.subjectTruck industryen_US
dc.subjectProduction controlen_US
dc.subjectProcess controlen_US
dc.titleการปรับปรุงการผลิตในสายการประกอบขั้นสุดท้ายสำหรับรถบรรทุกเชิงพาณิชย์ขนาด 1 ตันen_US
dc.title.alternativeProduction improvement in final assembly line for 1-ton commercial vehiclesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJittra.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1204-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wanlop_bo.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.