Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32885
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม-
dc.contributor.authorศญาภรณ์ บุญยารุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-08T01:25:09Z-
dc.date.available2013-07-08T01:25:09Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32885-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิธีการดำเนินการการตลาดเชิงกิจกรรมของบริษัทบัตรกรุงไทย จำกัด(มหาชน) หรือเคทีซี 2) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการตลาดเชิงกิจกรรม 3) ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมในการตลาดเชิงกิจกรรมกับความภักดีของลูกค้า โดยแบ่งเป็นการวิจัยสองส่วน ส่วนแรกคือการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารเกี่ยวกับการตลาดเชิงกิจกรรมของบริษัทบัตรกรุงไทย จำกัด (มหาชน) หรือเคทีซี และการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยสัมภาษณ์ผู้บริหารของบริษัทบัตรกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ที่มีความเกี่ยวข้องกับการบริหารงานด้านการตลาดเชิงกิจกรรม จำนวน 2 คน และส่วนที่สองคือการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง ประชากรเพศชายและหญิงที่มีอายุ 20-60 ปี อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และเป็นกลุ่มตัวอย่างที่ถือบัตรเครดิตเคทีซี จำนวน 400 คน โดยสถิติที่ใช้คือ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา โดยการหาสถิติขั้นพื้นฐาน โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) เพื่อแสดงผลเป็นค่าร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) เพื่ออธิบายลักษณะทางประชากร การมีส่วนร่วมกับการตลาดเชิงกิจกรรม ความพึงพอใจ และความภักดีต่อตราสินค้า การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมุติฐาน โดยใช้การวิเคราะห์เพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ซึ่งประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (SPSS for Window) ผลการวิจัยพบว่า1. วิธีการดำเนินการตลาดเชิงกิจกรรมของบริษัท บัตรกรุงไทย จำกัด (มหาชน) หรือ เคทีซี คือการแบ่งกลุ่มลูกค้าตามรูปแบบการดำเนินชีวิต (Lifestyle Segmentation) การบริหารข้อมูลลูกค้า การสื่อสารทางตรงกับลูกค้า และการใช้โปรแกรมความภักดี (Loyalty Program) เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า 2. การมีส่วนร่วมในการตลาดเชิงกิจกรรมของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับปานกลาง โดยที่ประเภทกิจกรรมที่กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมมากที่สุดคือ การชิงโชค ซึ่งมีสัดส่วนใกล้เคียงกับกิจกรรมการส่งเสริมการขายร่วมกับสินค้าอื่น และลักษณะกิจกรรมที่กลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมด้วยมากที่สุด คือ การใช้คะแนนสะสมหรือร่วมบริจาคคะแนนสะสมเพื่อร่วมกิจกรรมพิเศษต่างๆ 3. การมีส่วนร่วมในการตลาดเชิงกิจกรรมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความภักดีของลูกค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are 1) to study the event marketing strategies of Krungthai Card Public Company Limited or KTC 2) to study Bangkok consumer’s participation in the event marketing. 3) to study a relationship between Bangkok consumer’s participation in the event marketing and brand loyalty. This study was mainly a qualitative research which has been conducted by analyzing data about event marketing of KTC from secondary sources and having an interview with 2 key informants of KTC to complement the analysis. This research was also conducted in a quantitative manner by doing a survey selectively in 400 respondents who are 20 - 60 years, living in Bangkok and holding KTC credit card. The statistics employed in this study are Frequency, Percentage, Means and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The data were analyzed by SPSS for Windows. Results of the research are as followed : (1)Event marketing strategies of Krungthai Card Public Company Limited or KTC emphasized on lifestyle segmentation, customer database management, using direct media along with using Loyalty Program to build relationship among consumers (2)Consumer’s participation in the event marketing is in the middle level. The most type of the event marketing that consumer participate in is lucky draw, having the portion nearby with the cooperate sale promotion with partners. The most activity in the event that consumer participate in is using or donation reward points for special activities. (3)Consumer’s participation in the event marketing is positively correlated with brand loyalty.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.360-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการตลาดen_US
dc.subjectการตลาดเชิงกิจกรรมen_US
dc.subjectความภักดีต่อชื่อตราผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectการสร้างชื่อตราผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectความพอใจของผู้บริโภคen_US
dc.subjectบัตรเครดิต -- การตลาดen_US
dc.subjectบัตรเครดิตเคทีซีen_US
dc.subjectMarketingen_US
dc.subjectSpecial events -- Marketingen_US
dc.subjectBrand loyaltyen_US
dc.subjectBranding (Marketing)en_US
dc.subjectConsumer satisfactionen_US
dc.subjectCredit cards -- Marketingen_US
dc.subjectKTC credit carden_US
dc.titleความพึงพอใจในการตลาดเชิงกิจกรรมและความภักดีของผู้บริโภคต่อบัตรเครดิตเคทีซีen_US
dc.title.alternativeConsumer satisfaction of event marketing and consumer loyalty towards KTC Credit Carden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.360-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
syaporn_bo.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.