Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32904
Title: | Walk rate prediction for slimhole driling in the gulf of Thailand |
Other Titles: | การคาดการณ์อัตราการเบี่ยงเบนทิศทางสำหรับการเจาะหลุมขนาดเล็กในอ่าวไทย |
Authors: | Dararat Amponpun |
Advisors: | Jirawat Chewaroungroaj |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | jirawat.c@chula.ac.th |
Subjects: | Oil well drilling Boring Bits (Drilling and boring) Thailand, Gulf of การขุดเจาะบ่อน้ำมัน หัวเจาะ (การเจาะ) อ่าวไทย |
Issue Date: | 2010 |
Publisher: | Chulaongkorn University |
Abstract: | When drilling petroleum well into the reservoir section in the Gulf of Thailand, the bit walk rate has to be kept at minimum because of the narrow target. Meanwhile the steerable tool cannot be used to directly control the hole direction because it cannot function in high temperature as in the Gulf of Thailand’s reservoir. More than five percent of the wells drilled per year were pulled out of hole due to unable to keep the walk rate into the acceptable range. Then different bit design or different bottom hole assembly (BHA) was replaced to assure hitting target zones. This study was performed to address the factors that have influence on the bit walk, summarize their effects, and create the walk rate prediction table that can be used as a guideline for better pre-job planning such as BHA design and bit selection to reduce the number of trips for assembly changes which means saving cost in drilling wells. The actual field data of 495 wells drilled from year 2006 to year 2008 which composed of 17,625 survey station points was used in the study. By using the statistical tools including percentile, median and mean, the effect of each parameter to the walk rate could be defined and compared, and the walk rate value could be predicted. The study results indicated that the walk rate was influenced by the bit model, hole angle, AGS setting, RPM WOB, extension length and TVD depth in an average value of 0.26, 0.24, 0.20, 0.19, 0.18, 0.161 and 0.160 deg/100ft respectively. The walk rates predicted from this study were very close to the actual walk rates with less than 0.05 deg/100 ft discrepancies. |
Other Abstract: | การขุดเจาะเข้าไปในแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมสำหรับประเทศไทยนั้นจำเป็นต้องมีการควบคุมอัตราการเบี่ยงเบนทิศทางของหัวเจาะให้มีค่าน้อยตามที่กำหนดเพราะขนาดของเป้าหมายนั้นมีขนาดเล็ก แหล่งกักเก็บปิโตรเลียมของไทยนั้นมีอุณหภูมิสูงกว่าระดับปกติมาก ทำให้ไม่สามารถใช้อุปกรณ์การควบคุมทิศทางเหมือนที่ใช้ในการขุดเจาะโดยทั่วไปได้ มากกว่าห้าเปอร์เซ็นต์ของหลุมที่เจาะในแต่ละปีไม่สามารถควบคุมอัตราการเบี่ยงเบนทิศทางของหัวเจาะให้เข้าไปในเป้าหมายได้ทำให้ต้องหยุดการขุดเจาะและดึงก้านเจาะออกมาเพื่อเปลี่ยนชุดอุปกรณ์ใหม่ที่คาดว่าสามารถใช้เบี่ยงทิศทางหัวเจาะให้เข้าสู่เป้าหมาย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงมุ่งศึกษาเพื่อบ่งชี้ว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลกระทบต่อการเบี่ยงเบนทิศทางของหัวเจาะและมีผลกระทบมากน้อยเพียงใด จากนั้นได้ทำการสร้างตารางการคาดคะเนอัตราการบี่ยงเบนทิศทางของก้านเจาะแต่ละแบบ เพื่อให้เราสามารถเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสมและทำให้การขุดเจาะนั้นเข้าเป้าหมายตามที่กำหนด ทั้งนี้จะสามารถลดค่าใช้จ่ายในการขุดเจาะปิโตรเลียมได้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ใช้สถิติเชิงพรรณนา คือค่าร้อยละ ค่ามัธยฐาน และค่าเฉลี่ย ในการวิเคราะห์ข้อมูลจริงซึ่งเก็บตัวอย่างมาจากหลุมปิโตรเลียม 495 หลุมที่เจาะในปี ค.ศ. 2006 ถึง ค.ศ. 2008 โดยผลกระทบของแต่ละปัจจัยถูกแสดงและเปรียบเทียบเพื่อสามารถคาดการณ์อัตราการเบี่ยงเบนทิศทาง ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการบี่ยงเบนทิศทาง แสดงให้เห็นว่ามีปัจจัยดังต่อไปนี้ที่มีผลกระทบกับการเบี่ยงเบนทิศทางตามลำดับมากน้อย ได้แก่ ลักษณะของหัวขุดเจาะ ความเอียงของหลุมที่เจาะ ขนาดรอบวงของอุปกรณ์ในก้านเจาะ ค่าอัตราการหมุนก้านเจาะ แรงที่กดก้านเจาะ ตำแหน่งและการจัดเรียงชุดอุปกรณ์ในก้านเจาะ และความลึกของหลุมที่เจาะ ซึ่งค่าของผลกระทบมีขนาดเท่ากับ 0.26, 0.24, 0.20, 0.19, 0.18, 0.161 และ 0.160 องศาต่อหนึ่งร้อยฟุต ตามลำดับ และผลของอัตราการเบี่ยงเบนทิศทางของก้านเจาะที่คาดคะเนได้จากวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีค่าใกล้เคียงกับค่าจริงมากโดยมีผลต่างเพียงแค่ 0.05 องศาต่อหนึ่งร้อยฟุต |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulaongkorn University, 2010 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Petroleum Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32904 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1291 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2010.1291 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dararat_am.pdf | 5.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.