Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32911
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.authorจงกล บัวแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-08T07:59:09Z-
dc.date.available2013-07-08T07:59:09Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32911-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบอัตราความถูกต้องและความคลาดเคลื่อนของการกำหนดระดับผลการเรียนรู้ของนักเรียน ระหว่างระดับผลการเรียนรู้ตามคะแนนที่สังเกตได้กับคะแนนความสอดคล้องในสาระการเรียนรู้ที่ต่างกัน 3 กรณี คือ 1) เปรียบเทียบระหว่างสาระการเรียนรู้เมื่อยึด สาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นหลัก 2) เปรียบเทียบระหว่างสาระการเรียนรู้เมื่อยึดสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เป็นหลัก และ 3) เปรียบเทียบระหว่างสาระการเรียนรู้เมื่อยึดสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นหลัก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ของโรงเรียนใน 3 สังกัด คือ สพฐ. สช. และ อปท. จำนวน 435 คน โดยการคัดเลือกนักเรียนที่ได้รับการสอนจากครูคนเดียวกันในแต่ละสาระการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบบันทึกคะแนนนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยวิเคราะห์สถิติพื้นฐาน ช่วงคะแนนความสอดคล้อง ความถูกต้องและความคลาดเคลื่อนของการกำหนดระดับผลการเรียนรู้ อัตราความถูกต้องและอัตราความคลาดเคลื่อนของการกำหนดระดับผลการเรียนรู้โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคอิควิเปอร์เซ็นไทล์ 3 วิธี สรุปผลการวิจัยได้ว่า 1) เมื่อยึดสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นหลัก พบว่าทั้งสามวิธีมีอัตราความถูกต้องและอัตราความคลาดเคลื่อนระหว่างสาระการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ .05 ซึ่งมีอัตราความถูกต้องในการกำหนดระดับผลการเรียนรู้โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 27.20 และมีอัตราความคลาดเคลื่อนของการกำหนดระดับ ผลการเรียนรู้โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 72.80 2) เมื่อยึดสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เป็นหลัก พบว่าทั้งสามวิธีมีอัตราความถูกต้องและอัตราความคลาดเคลื่อนระหว่างสาระการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ .05 ซึ่งมีอัตราความถูกต้องในการกำหนดระดับผลการเรียนรู้โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 49.12 และมีอัตราความคลาดเคลื่อนของการกำหนดระดับ ผลการเรียนรู้โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 50.88 3) เมื่อยึดสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นหลัก พบว่าทั้งสามวิธีมีอัตราความถูกต้องและอัตราความคลาดเคลื่อนระหว่างสาระการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ .05 ซึ่งมีอัตราความถูกต้องในการกำหนดระดับผลการเรียนรู้โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 39.08 และมีอัตราความคลาดเคลื่อนของการกำหนดระดับ ผลการเรียนรู้โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 60.92en_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study was to analyze and compare the grading accuracy rate and error rate of students between the observe scores and concordance scores in different 3 cases: (1) comparison between learning areas using Thai learning area as referenced, (2) comparison between learning areas using Mathematics learning area as referenced and (3) comparison between learning areas using Science learning area as referenced. The sample consisted of 435 seventh grade students in school under 3 jurisdictions, i.e., Basic Education Commission, Private Education Commission and Local Administration Organization. In each jurisdiction, selected students who were taught in each learning area by same teacher. Research instrument was student’s score record form. Data were analyzed by using descriptive statistic, interval concordance scores, accuracy rate and error rate of grading. The accuracy and error rate of grading were analyzed by applying the equipercentile technique 3 methods. The results were as follows: 1) Using Thai learning area as referenced, all three methods showed that the accuracy rates and error rates between learning areas significantly difference at .05, which average accuracy rate was 27.20 percent and the error rate was 72.80 percent. 2) Using Mathematics learning area as referenced, all three methods showed that the accuracy rates and error rates between learning areas significantly difference at .05, which average accuracy rate was 49.12 percent and the error rate was 50.88 percent. 3) Using Science learning area as referenced, all three methods showed that the accuracy rates and error rates between learning areas significantly difference at .05, which average accuracy rate was 39.08 percent and the error rate was 60.92 percent.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1335-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการให้คะแนน (นักเรียนและนักศึกษา)en_US
dc.subjectการจัดกลุ่มตามความสามารถทางการศึกษาen_US
dc.subjectนักเรียน -- การประเมินen_US
dc.subjectGrading and marking (Students)en_US
dc.subjectAbility grouping in educationen_US
dc.subjectStudents -- Rating ofen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคนิคอิควิเปอร์เซ็นไทล์สำหรับการวิเคราะห์อัตราความคลาดเคลื่อนของการกำหนดระดับผลการเรียนรู้ของนักเรียนในสาระการเรียนรู้ที่ต่างกันen_US
dc.title.alternativeAn application of equipercentile techniques for the analysis of grading error rate for students in different learning areasen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorskanjanawasee@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1335-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jongkon_bu.pdf3.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.