Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33060
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.authorอรอนงค์ เชาวกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-13T08:17:59Z-
dc.date.available2013-07-13T08:17:59Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33060-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractลดข้อผิดพลาดของการทดสอบความทนทานต่อการกัดกร่อนของห้องปฏิบัติการทดสอบในโรงงานผลิตสี โดยใช้แนวทางของข้อกำหนดทั่วไปว่าด้วย ความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบหรือสอบเทียบ ISO/IEC 17025:2005 ในการออกแบบและปรับปรุงความสามารถของห้องปฏิบัติการ และออกแบบระบบการควบคุมข้อผิดพลาดของกระบวนการทดสอบ โดยประยุกต์ใช้เทคนิค FMEA, MSA และแผนภูมิควบคุมร่วมด้วย เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือในการปฏิบัติงานของห้องปฏิบัติการทดสอบ ในขั้นตอนแรกทำการเก็บข้อมูลของปัญหาที่พบในกระบวนการทดสอบแต่ละขั้นตอน และคัดเลือกปัญหาจากจำนวนครั้งของการเกิดปัญหาโดยใช้แผนภูมิพาเรโตเป็นเครื่องมือ และใช้แผนภาพก้างปลาร่วมกับเทคนิค Why-why analysis ในการค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา เพื่อออกแบบและปรับปรุง ซึ่งปัญหาที่ถูกคัดเลือกเพื่อนำไปหาสาเหตุของปัญหา ได้แก่ (1) ผลการทดสอบจากเครื่องมือทดสอบผิดพลาด (2) พนักงานวิเคราะห์ผลผิดพลาด และ (3) ค่า pH ของน้ำเกลือไม่คงที่ หลังจากทำการออกแบบและปรับปรุงกระบวนการทดสอบแล้ว พบว่ากรณีพิจารณาจำนวนแผ่นทดสอบที่เสียหายลดลงจาก 56.25% เหลือ 30.67% โดยเฉลี่ย และกรณีพิจารณาจำนวนครั้งการทดสอบที่ผิดพลาดพบว่า ลดลงจาก 55% เป็น 25.2% โดยเฉลี่ย และเมื่อ ทำการควบคุมข้อผิดพลาดจากการทดสอบด้วยการประยุกต์ใช้เทคนิค FMEA พบว่าค่า RPN ลดลงเท่ากับ 55.2% โดยเฉลี่ยen_US
dc.description.abstractalternativeTo reduce and eliminate errors of corrosion resistance testing process in paint manufacture laboratory by applying general criteria of ISO/IEC 17025:2005 guideline on lab ability standard requirements and including statistical techniques, such as, control chart and MSA to increase lab ability and also design the error controlling system of corrosion resistance testing process by applying FMEA technique in order to increase lab credibility All issue found during each step of testing process will be collected and count, then use Pareto Diagram and Why-Why analysis technique, to identify the root caused an opportunity for improvement, based on the result from above data 3 major problems has been point out (1) Error from testing tool (2) Error result from analysis operation (3) Unstable on salt water pH value. After the testing process improvement has been implemented when use an error control system error was reduced from 56.25% to 30.67% based on total number of testing panels and reduced from 55% to 25.2% base on total number of testing when FMEA technique was applied to control the error from testing, RPN was reduced to 55.2% averagely.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1071-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมสี -- ห้องปฏิบัติการen_US
dc.subjectห้องปฏิบัติการทดสอบ -- การควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen_US
dc.subjectPaint industry and trade -- Laboratoriesen_US
dc.subjectTesting laboratoriesen_US
dc.subjectLoss controlen_US
dc.titleการลดข้อผิดพลาดของการทดสอบความทนทานต่อการกัดกร่อนในโรงงานผลิตสีen_US
dc.title.alternativeError reduction of corrosion resistance testing in paint manufactureren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDamrong.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1071-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
onanong_ch.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.