Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33096
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorบุษยากร ตีระพฤติกุลชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-15T08:24:18Z-
dc.date.available2013-07-15T08:24:18Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33096-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานภาพของสื่อพิธีกรรมงานศพของชุมชน บ้านดงใน 3 ช่วงเวลา ได้แก่ ระยะที่ 1 ก่อนหน้าทา โครงการงานศพงดเหล้า ระยะที่ 2 โครงการเริ่มต้น และระยะที่ 3 โครงการเข้มแข็ง 2) ศึกษาและเปรียบเทียบกระบวนการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในระยะที่ 2 และระยะที่ 3 3) ศึกษาพื้นที่ สาธารณะของชุมชน 4) ศึกษาทุนของแกนนา ชุมชน และ 5) ศึกษากระบวนการสื่อสารเพื่อขยายผลจากชุมชนบ้านดงไปสู่ ระดับจังหวัด โดยใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย การสังเกตการ ณ์ การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และการ วิเคราะห์เอกสาร กลุ่มเป้าหมายในการศึกษา ได้แก่ แกนนาชุมชนและคนในชุมชนบ้านดง แกนนาและคนในชุมชนอื่นๆ ที่ ดา เนินโครงการงานศพงดเหล้า เจ้าหน้าที่จากภายนอกที่สนับสนุนการเคลื่อนโครงการ รวมทั้งสิ้น 178 คน ผลการศึกษาพบว่า บริบทของชุมชนบ้านดงมีทุนวัฒนธรรมและทุนทางสังคมสูง มีโครงข่ายการสื่อสาร ของ ชุมชนที่เข้มแข็ง สถานภาพของสื่อพิธีกรรมงานศพระยะที่ 1 พิธีกรรมงานศพเป็นพื้นที่ของปัจเจกและชุดสัญญะเพื่อแสดง ฐานะหน้าตาของเจ้าภาพงานศพ ระยะที่ 2 พิธีกรรมงานศพเป็นพื้นที่ของชุมชนและเป็นชุดสัญญะแสดงถึงความเอื้ออาทร เจ้าภาพและการร่วมมือของชุมชน ระยะที่ 3 พิธีกรรมงานศพยังคงเป็นชุดสัญญะแสดงความเอื้ออาทรและความร่วมมือ แต่มี บทบาทหน้าที่เพิ่มขึ้นในฐานะสัญญะแสดงอัตลักษณ์ใหม่ในฐานะ “ชุมชนปลอดเหล้าในงานศพ” กระบวนการสื่อสารเพื่อ ปรับแปลงความหมายมีทั้งการประนีประนอมกับความหมายโดยนัยของเหล้าและการรื้อถอนมายาคติของเหล้าและงานศพ การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในระยะที่ 2 มีเป้ าหมายหลักคือแลกเปลี่ยนข้อมูล สร้างฉันทามติเพื่อนา ไปสู่การกระทา การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในระยะที่ 3 มีเป้ าหมายหลักเพื่อตอกย้า วิถีปฏิบัติ สร้างเครือข่ายใหม่ๆ และ สั่งสมทุนวัฒนธรรม และทุนทางสัญลักษณ์ของชุมชน รูปแบบการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมที่ปรากฏในทั้งสองระยะได้แก่ การพูดคุยกลุ่มเล็ก การ ประชุมหมวดบ้าน การประชุมหมู่บ้าน และการทา กิจกรรมร่วมกันในพิธีกรรมงานศพ พื้นที่สาธารณะของชุมชนบ้านดงเป็นพื้นที่สาธารณะที่นา ไปสู่การกระทา มีลักษณะเป็นเครือข่าย มีความ หลากหลายทั้งในแง่รูปแบบและขนาด ชุมชนได้ประกอบสร้างทั้งพื้นที่สาธารณะที่ใช้มิติเชิงเหตุผลเป็นหลัก พื้นที่ สาธารณะที่ใช้มิติเชิงอารมณ์เป็นหลัก และพื้นที่สาธารณะที่ผสมผสานระหว่างมิติเชิงเหตุผลและอารมณ์ โดยเลือกใช้พื้นที่ สาธารณะให้สอดคล้องกับเป้ าหมายการสื่อสารและกลุ่มเป้ าหมายในการสื่อสารแต่ละครั้ง แกนนา ของชุมชนมีทุนวัฒนธรรมและทุนทางสงั คมสูง และได้ใช้ทุนทั้งสองประเภทนี้ในทุกขั้นตอนของการ สื่อสารเพื่อปรับแปลงความหมายในพิธีกรรมงานศพ ส่งผลให้หลังดา เนินโครงการงานศพงดเหล้า ทุนของแกนนา ทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ ทุนเศรษฐกิจ ทุนวัฒนธรรม ทุนทางสังคม และทุนสัญลักษณ์ เพิ่มสูงขึ้น ทุนของแกนนา ที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผล ให้ทุนของชุมชนเพิ่มสูงขึ้นด้วยกระบวนการสื่อสารเพื่อขยายผลจากชุมชนบ้านดงไปสู่ระดับจังหวัด กลไกอา นาจจากภาครัฐก่อให้เกิดความ ตื่นตัว แต่กลไกการมีส่วนร่วมภายในชุมช นทาให้ประสบความสาเร็จ ข้อค้นพบสาคัญ คือ 1) การถอดบทเรียนจากชุมชน ต้นแบบต้องศึกษาและถ่ายทอดให้ครบถ้วนทั้งบริบท กระบวนการ และผลลัพธ์ 2) ต้องใช้แบบจา ลองการสื่อสารเชิง พิธีกรรมเป็นหลัก 3) ต้องมีการตั้งคณะทา งานเฉพาะกิจซึ่งมีองค์ประกอบที่หลากหลาย 4) ต้องมีกระบวนการสื่อสารอย่าง เข้มข้นเพื่อสร้างความเข้าใจก่อนเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจ 5) ต้องทา ให้พิธีกรรมงานศพเป็นพื้นที่สาธารณะของชุมชนโดย สร้างกิจกรรมให้คนมีส่วนร่วมในฐานะผู้ผลิต และ 6) ต้องสนับสนุนให้ชุมชนสื่อสารโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์en_US
dc.description.abstractalternativeThis study applied the qualitative research principles and aimed to 1) study a status of funeral rituals in Ban Dong village as a ritualistic media in 3 periods of time; the 1st phase: before starting the “No Alcohol in Funeral Rituals” project, the 2nd phase: the project commencing, and the 3rd phase: the project flourishing, 2) study and compare participatory communication process between the 2nd and 3rd phases, 3) study the village’s public sphere, 4) study the village mainstay’s capitals and, 5) study communication process to extend the project from the village to a provincial level. The research tools consisted of observation, interviewing, focus group conducting and document analysis. The total numbers of the key informant studied were 178 persons including the village mainstays and villagers from Ban Dong village and other communities launching the projects, and the officers or staffs from outside organizations supporting the project. The study revealed that Ban Dong village had a socio cultural context with high cultural and social capitals and a strong communication network. The status of the funeral rituals, as a ritualistic media, had dynamically changed. The 1st phase: the rituals were perceived mostly as a private sphere and a set of signs representing an individual’s socio economical status. The 2nd phase: the rituals were perceived as a public sphere and a set of signs representing the community’s generosity and cooperation. The 3rd phase: the rituals still represented the meaning in the 2nd phase and had a new role as a set of signs representing a new collective identity as “a community with no alcohol in funeral rituals”. Communication process to transform meanings composed of negotiating with connotative meanings of alcohol, as well as deconstructing a myth of alcohol and funeral rituals as a set of signs representing socio economical status The participatory communication in the 2nd phase focused on information and understanding sharing and creating consensus heading for actions. The participatory communication in the 3rd phase focused on emphasizing the practice, creating new networks, and accumulating the collective cultural and symbolic capitals. The forms of participatory communication found in both phases were; small group talking, group meetings, village meetings and activities doing during the rituals. The characteristic of Ban Dong’s public sphere is a network aiming for actions, with variety in forms and sizes. The community had constructed public spheres based on rationale, emotion and the mixing of both, then chose the most appropriate one with the communication aims and audiences for every single communication. The village mainstay had high cultural and social capitals and applied both capitals in each step of the communication process. As a result, after the project was done, the economic, cultural, social and symbolic capitals of the mainstay increased. The increase of the mainstay’s capitals led to the increase of the community’s capitals. The communication process to extend the project to the provincial level needed both authoritative power mechanism to gain attentiveness and participatory mechanism from the communities to gain sustainable achievement. The main findings were 1) lessons learning from an ideal type community must cover contexts, process, and results, 2) a ritualistic model of communication was preferable, 3) a new entity with variety of participants to drive the project was necessary, 4) concentrate communication process to create shared understanding before making decision was essential, 5) a funeral ritual must be made to be a public sphere by offering the participants a new role as a producer, and 6) communicating with concrete evidence should be promoted.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.96-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.subjectพิธีศพ -- ไทย (ภาคเหนือ)en_US
dc.subjectการสื่อสารในการพัฒนาชุมชนen_US
dc.subjectสุรา -- แง่สังคมen_US
dc.subjectCommunicationen_US
dc.subjectFuneral rites and ceremonies -- Thailand, Northernen_US
dc.subjectCommunication in community developmenten_US
dc.subjectLiquors -- Social aspectsen_US
dc.titleกระบวนการสื่อสารเพื่อปรับแปลงความหมายในพิธีกรรมงานศพen_US
dc.title.alternativeCommunication process to transform meanings in funeral ritualsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKanjana.Ka@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.96-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Busayagorn_te.pdf12.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.