Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33195
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปรีชา ช้างขวัญยืน | - |
dc.contributor.author | สุชาดา วสุธาร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2013-07-17T13:19:13Z | - |
dc.date.available | 2013-07-17T13:19:13Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33195 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและทำความเข้าใจความหมายของการแก้กรรมและสาเหตุของความเชื่อเรื่องการแก้กรรม ตามทรรศนะของผู้ทำพิธี และผู้ร่วมพิธี รวมทั้งนักวิชาการทางพุทธศาสนาเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของความเชื่อเรื่องการแก้กรรมที่มีต่อพระพุทธศาสนาในสังคมไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การสัมภาษณ์ทรรศนะของผู้ทำพิธีและผู้ร่วมพิธี เกี่ยวกับความหมายของการแก้กรรมและสาเหตุของความเชื่อเรื่องการแก้กรรม และความเห็นของนักวิชาการบางท่านเกี่ยวกับเรื่องนี้ รวมถึงประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องแก้กรรม ผลการวิจัยพบว่าการแก้กรรมที่ใช้กันอยู่มีหลายความหมาย คือ 1. การแก้กรรมเก่า ในความหมายว่าลบล้างกรรมที่ทำไปแล้วนั้นไม่สามารถทำได้ 2. การแก้กรรม ในความหมายว่าเป็นการแก้วิบากกรรมให้บรรเทาลง สามารถทำได้ 3. การแก้กรรมใหม่ ที่หมายถึงการปรับปรุงการกระทำให้ดีขึ้น สามารถทำได้ ผู้ทำพิธีมีสาเหตุที่เชื่อเรื่องแก้กรรมจากประสบการณ์ชีวิต และรู้จากญาณในการปฏิบัติ ในส่วนผู้ร่วมพิธี สาเหตุที่เชื่อเรื่องแก้กรรมเป็นเพราะเชื่อว่าผู้ทำพิธีสามารถบอกกรรมได้และมีหนทางแนะนำวิธีแก้ไขให้ดีขึ้นได้ แม้ว่าวิธีการบางอย่างที่แนะนำจะไม่ตรงตามหลักพุทธศาสนาอยู่บ้าง แต่มองภาพรวมแล้วก็ไม่ขัดกับพระไตรปิฎกในแง่ที่ว่า มีเจตนาเพื่อเป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และประเด็นสำคัญคือ ทุกแห่งที่ศึกษาล้วนให้ความสำคัญที่ใจเป็นหลัก คือให้แก้ที่ใจก่อน โดยให้ยอมรับและสำนึกในกรรมที่ทำไว้ แล้วจึงสอนให้ละเลิกการกระทำที่ไม่ดีนั้นเสีย และสอนให้กระทำกรรมดีมาก ๆ เพื่อลดแรงของวิบากกรรมไม่ดีที่จะส่งผล | en_US |
dc.description.abstractalternative | This thesis aims to study a belief in Kamma adjustment according to the view of ritualists and participants of Kamma adjustment rituals in order to analyze the effects of this belief on Buddhism in Thai society. This research is a qualitative research, conducted by interviewing ritualists and participants of Kamma adjustment rituals to find the meaning of Kamma adjustment and their reasons for such belief, and inquiring some academics about this subject as well as issues related to Kamma adjustment. The research has found that 1. Kamma adjustment as the destruction of the previous action is impossible. 2. Kamma adjustment as the ease or improvement of the Kamma effects is possible. 3. Kamma adjustment as the improvement of actions is possible. The ritualists believe in Kamma adjustment because they have direct experiences and special insight. There is a belief in Kamma adjustment because the participants believe that ritualists are able to indicate the Kamma and thus suggest ways to improve it. Some of these ways may not be directly relevant to the Buddhist Principle; however, as a whole, they are not in conflict with the Tipitaka in that they intend to disseminate Buddhism. The important point is that all the rituals studied emphasize the significance of the mind-the adjustment has to start with the adjustment of the mind, accepting and becoming aware of the previous Kamma. After that, lessons will be taught to participants to make them refrain from doing bad deeds. Instead, they should do good deeds to alleviate the negative impact of their bad deeds. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1389 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไทย -- ภาวะสังคม | en_US |
dc.subject | กรรม -- พิธีกรรม | en_US |
dc.subject | ความเชื่อ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา | en_US |
dc.subject | Thailand -- Social conditions | en_US |
dc.subject | Karma -- Rituals | en_US |
dc.subject | Belief and doubt -- Religious aspects -- Buddhism | en_US |
dc.title | ความเชื่อเรื่องการแก้กรรมในสังคมไทยปัจจุบัน | en_US |
dc.title.alternative | Kamma adjustment as a belief in present Thai society | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | พุทธศาสน์ศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Preecha.C@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.1389 | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
suchada_va.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.