Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33422
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุบล เบ็ญจรงค์กิจ-
dc.contributor.authorภาสกร จิตรใคร่ครวญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-26T07:17:35Z-
dc.date.available2013-07-26T07:17:35Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33422-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ของบริบททางสังคม การสื่อสารออนไลน์ การมีปฏิสัมพันธ์ และความเป็นส่วนตัว กับแนวคิดการนำเสนอตัวตนต่อสังคม (2) ศึกษาความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีของสื่อใหม่ กับแนวคิดการนำเสนอตัวตนต่อสังคม (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของแนวคิดการนำเสนอตัวตนต่อสังคม กับพฤติกรรมการสื่อสารของผู้ใช้บนสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีของสื่อใหม่และแนวคิดการนำเสนอตัวตนต่อสังคม กับพฤติกรรมการสื่อสารของผู้ใช้บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ด้วยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลจากตัวอย่างโดยเป็นผู้ใช้งาน Facebook และ/หรือ Twtitter จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามออนไลน์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ใช้ส่วนใหญ่ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นประจำทุกวันและวันละมากกว่า 3 ชั่วโมงต่อวัน (2) บริบททางสังคม การสื่อสารออนไลน์ การมีปฏิสัมพันธ์ ความเป็นส่วนตัว และเทคโนโลยีของสื่อใหม่ มีความสัมพันธ์กับระดับการนำเสนอตัวตนต่อสังคม (3) ระดับการนำเสนอตัวตนต่อสังคม มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสื่อสารของผู้ใช้บนสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ (4) เทคโนโลยีของสื่อใหม่และระดับการนำเสนอตัวตนต่อสังคม มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสื่อสารของผู้ใช้บนเครือข่ายสังคมออนไลน์en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey were (1) to study the relationship between social context, online communication, interactivity, privacy and social presence (2) to study the relationship between new media technology and social presence (3) to study the relationship between social presence and communication behavior on social network, and (4) to study the relationship between new media technology, social presence and communication behavior on social network. Sampling was consisted of 400 Facebook and/or Twitter users. Online questionnaires were employed for data collection. Findings were as follows, 1) social network users tend to use social network every day, over 3 hours a day (2) social context, online communication, interactivity, privacy and new media technology are related to level of social presence (3) individual social presence is related to communication behavior on social network, and (4) social presence and new media technology explained 14.3 and 5.4 percent respectively of communication behavior on social network.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.519-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเครือข่ายสังคมออนไลน์en_US
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์en_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.subjectการนำเสนอตนเองen_US
dc.subjectOnline social networksen_US
dc.subjectSocial mediaen_US
dc.subjectCommunicationen_US
dc.subjectSelf-presentationen_US
dc.titleเทคโนโลยีของสื่อใหม่และการนำเสนอตัวตนต่อสังคมกับพฤติกรรมการสื่อสารบนเครือข่ายสังคมออนไลน์en_US
dc.title.alternativeNew media technology, social presence and communication behavior on online social networken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYubol.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.519-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pasakorn_ji.pdf3.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.