Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33448
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเนาวนิตย์ สงคราม-
dc.contributor.authorกรวิภา กัปตพล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-27T08:00:05Z-
dc.date.available2013-07-27T08:00:05Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33448-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractศึกษาผลของผลของการเรียนแบบการคิดแก้ปัญหาอนาคตบนเว็บโดยใช้คลังวีดิทัศน์ ที่มีต่อความสามารถในการคิดสร้างสรรค์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหล่มเก่าพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2553 จำนวน 60 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลองกลุ่มย่อย กลุ่มละ 5 คน เรียนด้วยการเรียนแบบการคิดแก้ปัญหาอนาคตบนเว็บโดยใช้คลังวีดิทัศน์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ เว็บการเรียนแบบการคิดแก้ปัญหาอนาคตโดยใช้คลังวีดิทัศน์ แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน เมื่อเรียนด้วยการเรียนแบบการคิดแก้ปัญหาอนาคตบนเว็บโดยใช้คลังวีดิทัศน์ ก่อนทดลองและหลังทดลองมีระดับความคิดสร้างสรรค์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง มีระดับความคิดสร้างสรรค์สูงกว่านักเรียน ที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ และนักเรียนทีมี่ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลาง มีระดับความคิดสร้างสรรค์ สูงกว่านักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeTo study the effects of web-based future problem-solving in science learning using video archives upon creative thinking ability of ninth grade students with different levels of learning achievement. The samples of study were devided into 12 groups with 5 students in each group. The research instruments were a web-based instruction using future problem-solving in science learning with video archives, a creative ability test and learning satisfaction test. The data was analyzed using arithmetic mean, standard deviation, t-test and One-way analysis of Variance. The research results were as follows: 1. The students with different achievement levels when studied web-based instruction using future problem-solving in science learning with video archives had a post-test mean score higher than a pre-test mean score statistically significant difference at .05 level of creative abilities. 2. The students with high achievement had the levels of creative abilities higher than the students with low achievement and the students with medium achievement had the levels of creative abilities higher than the students with low achievement had statistically significant difference at .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1445-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์en_US
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen_US
dc.subjectสื่อการสอนen_US
dc.subjectการสอนด้วยสื่อen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen_US
dc.subjectCreative thinkingen_US
dc.subjectWeb-based instructionen_US
dc.subjectTeaching -- Aids and devicesen_US
dc.subjectScience -- Study and teaching ‪(Secondary)‬en_US
dc.subjectHigh school studentsen_US
dc.titleผลของการเรียนวิทยาศาสตร์ด้วยการคิดแก้ปัญหาอนาคตบนเว็บโดยใช้คลังวีดิทัศน์ ที่มีต่อความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกันen_US
dc.title.alternativeEffects of web-based future problem-solving in science learning using video archives upon creative thinking ability of ninth grade students with different levels of earning achievementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNoawanit.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1445-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kornwika_ku.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.