Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์-
dc.contributor.authorเทียนชัย เสาจินดารัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-02T03:16:45Z-
dc.date.available2013-08-02T03:16:45Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745812277-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33760-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและความต้องการของครูประจำชั้น ในการสอนศิลปศึกษา ในด้านกิจกรรมการสอน การผลิตและการใช้สื่อการสอน การวัดผลและประเมินผล และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพกับความต้องการของครูประจำชั้นในการสอนศิลปศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป MICROSTAT แล้วนำเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรียง ผลการวิจัยพบว่า ในด้านสภาพการปฏิบัติการสอนศิลปศึกษา ครูประจำชั้นมีการปฏิบัติในด้านกิจกรรมการสอน การผลิตและการใช้สื่อการสอน การวัดผลและประเมินผล โดยส่วนร่วมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเฉพาะด้าน พบว่า 1. ด้านกิจกรรมการสอนมีการปฏิบัติมากที่สุด คือการเดินสังเกตและให้คำแนะนำช่วยเหลือในขณะที่นักเรียนทำงาน 2. การผลิตและการใช้สื่อการสอน มีการปฏิบัติมากที่สุด คือการใช้สื่อต่างๆ เช่น รูปภาพของจริง เพื่อสร้างความบันดาลใจให้นักเรียนเกิดความคิดใหม่ๆ 3. ด้านการวัดผลและประเมินผล มีการปฏิบัติมากที่สุด คือการวัดผลและประเมินผล โดยคำนึงถึงพัฒนาการและสังเกตพฤติกรรมการเรียนศิลปะ และการวัดผลประเมินผล โดยการตรวจผลงานศิลปะของนักเรียน ในด้านความต้องการในการสอนศิลปศึกษา ครูประจำชั้นมีความต้องการโดยส่วนรวมอยู่ในระดับมากเมื่อจำแนกเฉพาะด้านพบว่า 1. ด้านกิจกรรมการสอน มีความต้องการมากที่สุด คือการเข้ารับการฝึกอบรมเทคนิคและวิธีสอนศิลปะในรูปแบบต่างๆ เพื่อจูงความสนใจของนักเรียน 2. ด้านการผลิตและการใช้สื่อการสอนมีความต้องการมากที่สุด คือ การเข้ารับการฝึกอบรม วิธีการใช้วัสดุเหลือใช้ หรือวัสดุธรรมชาติที่หาได้ในท้องถิ่นมาผลิตสื่อการสอน 3. ด้านการวัดผลประเมินผล มีความต้องการมากที่สุดคือ การได้รับเครื่องมือ หรือแบบฟอร์มการประเมินผลสำเร็จรูปของวิชาศิลปะแต่ละกิจกรรม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างสภาพกับความต้องการในการสอนศิลปศึกษา พบว่า มีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ คือมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .193 เป็นความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study state and needs concerning teaching activities, production and utilization of teaching media, and testing and evaluation methods use in art teaching. The study also concerned into the relationship between the state and needs in art teaching. Analyzing the data with percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product moment correlation coefficient by using MICROSTAT-computer analyzed program. It was found that there were generally moderate state of practices among the classroom teachers in teaching activities, production and utilization of teaching media, and testing and evaluation methods. Each aspect of practice was separately described as follows. 1. Teaching activities: the most frequent practices were observing and giving help as well as advice to students while they were working. 2. Producing and utilization of teaching media: The most frequent practices were usage of pictures, real objects to motivate students’ imagination. 3. Testing and evaluation methods: The most frequent practices were to examine the student’s growth and observing students’ art learning behavior and were grading their finished works. The needs in teaching art education that concerning teaching activities, production and utilization of teaching media, and testing and evaluation methods were generally superior that each aspect of needs were separately described as follows. 1. Teaching activities: The most needed was to attend training programs in different teaching techniques that could stimulate students’ interest in art learning. 2. Producing and utilization of teaching media: The most needed was to attend training programs that showed them how to produce media from available or natural materials found in the locality. 3. Testing and evaluation methods: The most needed was an evaluated form for each art activities. It was also found that there was low correlated between state and needs in teaching art education at the significant level of .05 (r = .193)-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศิลปศึกษา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
dc.subjectครูประจำชั้น-
dc.subjectครูประถมศึกษา -- ไทย -- แม่ฮ่องสอน-
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก -- ไทย -- แม่ฮ่องสอน-
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอน-
dc.subjectการสอน -- อุปกรณ์-
dc.subjectกาารวัดผลทางการศึกษา-
dc.titleสภาพและความต้องการของครูประจำชั้นในการสอนศิลปศึกษา ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeState and need of classroom teachers in teaching art education in small-size elementary schools under the jurisdiction of the Office of Mae Hong Son Provincial Primary Educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thienchai_sa_front.pdf4.6 MBAdobe PDFView/Open
Thienchai_sa_ch1.pdf7.72 MBAdobe PDFView/Open
Thienchai_sa_ch2.pdf38.48 MBAdobe PDFView/Open
Thienchai_sa_ch3.pdf5.1 MBAdobe PDFView/Open
Thienchai_sa_ch4.pdf12.18 MBAdobe PDFView/Open
Thienchai_sa_ch5.pdf15.36 MBAdobe PDFView/Open
Thienchai_sa_back.pdf19.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.