Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3409
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภจิตรา ชัชวาลย์-
dc.contributor.advisorเรณู ถาวโรฤทธิ์-
dc.contributor.authorปิยวัชช นิติกุล, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-02-14T09:48:06Z-
dc.date.available2007-02-14T09:48:06Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745315079-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3409-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractศึกษาผลของภาวะแล้งในถั่วเหลือง Glycine max (L.) Merrill สายพันธุ์ สจ. 5 ต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของดอก โดยให้ต้นถั่วเหลืองในระยะที่มี 4 ข้อบนลำต้น (V[subscript 4]) ได้รับภาวะแล้งที่ระดับ 30 เปอร์เซ็นต์ (จากจุดที่ทำให้ถั่วเหลืองตาย) ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าภาวะแล้งส่งผลทำให้ปริมาณน้ำสัมพัทธ์และการเติบโต ได้แก่ ความสูงต้น น้ำหนักสด และน้ำหนักแห้งของต้นลดต่ำลงอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับชุดควบคุม ส่วนด้านพัฒนาการของดอกพบว่าถั่วเหลืองเมื่อได้รับภาวะแล้งที่ระยะ V[subscript 4] สามารถสร้างดอกที่มีโครงสร้างครบสมบูรณ์ได้น้อยลงและดอกที่พัฒนาได้จะมีความสามารถของการงอกหลอดเรณูได้น้อยกว่าถั่วเหลืองชุดควบคุมทั้งในสภาพหลอดทดลองและบนยอดเกสรเพศเมีย แต่อย่างไรก็ดียอดเกสรเพศเมียของดอกชุดที่ได้รับภาวะแล้งยังคงสามารถรับละอองเรณูได้ไม่ต่างจากชุดควบคุมเมื่อวัดจากความสามารถในการผลิตเอนไซม์เอสเตอเรส แสดงว่าผลของภาวะแล้งที่มีต่อผลผลิตของถั่วเหลืองในระยะการสืบพันธุ์ มาจากการยับยั้งพัฒนาการของดอกและความสามารถในการงอกหลอดเรณูเท่านั้น เมื่อให้ถั่วเหลืองสายพันธุ์ สจ. 5 ได้รับภาวะแล้งที่ระดับ 30 เปอร์เซ็นต์ ในระยะ V[subscript 2] พบว่าเนื้อเยื่อเจริญที่จพัฒนาไปเป็นดอกมีการพัฒนาต่อไปเพียงระยะหนึ่งและจะหยุดการพัฒนา จากนั้นเนื้อเยื่อเจริญจะเหี่ยวแห้งและพืชทดลองทุกต้นจะตายไปในที่สุดen
dc.description.abstractalternativeThe effects of drought stress on growth and floral ontogeny were examined in soybean Glycine max (L.) Merrill cv. SJ5. The drought treatment was performed by application of 30% (death-point) stress to V[subscript 4]-stage soybeans, which consisted of 4 nodes. The stressed plant showed significant reduction in relative water content and growth, such as height, fresh weight and dry weight when compared to the non-stress control. For floral ontogeny, drought stress treatment was found to reduce the number of complete flowers and also the pollen fertility. The in vitro pollen germination test, performed with the pollens from blooming flowers, showed that the stress decreased germination percentage. However, drought stress had no effect on stigma receptivity based on esterase production. Therefore, the severe effect of drought stress on soybean productivity at the reproductive stage was caused only by the floral development prohibition and reduction in pollen viability. The drought treatment at 30% stress was also applied to V[subscript 2]-stage soybeans, the results showed that the stress decrease development in floral meristem which was dried out afterward and subsequently all the treated plant dieden
dc.format.extent1852532 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectถั่วเหลือง -- การเจริญเติบโตen
dc.titleพัฒนาการของดอกถั่วเหลือง Glycine max (L.) Merrill ภายใต้ภาวะแล้งen
dc.title.alternativeFloral ontogeny of soybean Glycine max (L.) Merrill under drought stressen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineพฤกษศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupachitra.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyawat.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.