Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3415
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมศักดิ์ ดำรงค์เลิศ | - |
dc.contributor.author | อราดา วงศ์ศุภลักษณ์, 2522- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2007-02-15T02:21:35Z | - |
dc.date.available | 2007-02-15T02:21:35Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741759967 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3415 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | พอลิสไตรีนใช้แล้วผสมกับตัวเร่งปฏิกิริยากรด 1 ใน 3 ชนิด ของซีฮดไลต์ชนิด HZSM-5 เหล็กบนถ่านกัมมันต์และ Co-Mo/Al[subscript 2]O[subscript 3] ทดลองในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก ขนาด 70 มล. กระบวนการแตกตัวกระทำ ณ อุณหภูมิ 350-400 ํC เวลาทำปฏิกิริยา 60-180 นาที ความดันไฮโดรเดนเริ่มต้น 1-5 บาร์ ปริมาณของ HZSM-5 0.1-1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก เหล็กบนถ่านกัมมันต์และ Co-Mo/Al[subscript 2]O[subscript 3] 1-5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันและองค์ประกอบที่ดีที่สุด โดยได้ออกแบบการทดลองเป็นแบบแฟกทอเรียลสองระดับ ภาวะที่เหมาะสมของการแตกตัวพอลิสไตรีนใช้แล้วบนตัวเร่งปฏิกิริยา HZSM-5 คือ อุณหภูมิ 370 ํC เวลาทำปฏิกิริยา 90 นาที ความดันไฮโดรเจน 1 บาร์และตัวเร่งปฏิกิริยา 0.1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 88.3% ประกอบด้วยแก๊สโซลีน เคโรซีน แก๊สออยล์เบา แก๊สออยล์ และกากน้ำมันเบา 28%, 3%, 40%, 3% และ 26% ตามลำดับ ภาวะที่เหมาะสมของการแตกตัวพอลิสไตรีนใช้แล้ว บนตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กบนถ่านกัมมันต์คือ อุณหภูมิ 370 ํC เวลาทำปฏิกิริยา 120 นาที ความดันไฮโดรเจน 1 บาร์และตัวเร่งปฏิกิริยา 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 88.7% ประกอบด้วยแก๊สโซลีน เคโรซีน แก๊สออยล์เบา แก๊สออยล์ และกากน้ำมันเบา 24%, 1%, 45%, 2% และ 28% ตามลำดับ ส่วนภาวะที่เหมาะสมของการแตกตัวพอลิสไตรีนใช้แล้วบนตัวเร่งปฏิกิริยา Co-Mo/Al[subscript 2]O[subscript 3] คือ อุณหภูมิ 370 ํC เวลาทำปฏิกิริยา 90 นาที ความดันไฮโดรเจน 1 บาร์และตัวเร่งปฏิกิริยา 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 91.2% ประกอบด้วยแก๊สโซลีน แก๊สออยล์เบา แก๊สออยล์และกากน้ำมันเบา 33%, 40%, 1% และ 26% ตามลำดับ และเมื่อนำผลิตภัณฑ์น้ำมันที่ได้มาวิเคราะห์องค์ประกอบสารเคมี โดยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟีพบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาทั้ง 3 ชนิดให้ผลิตภัณฑ์หลักเป็นเอทิลเบนซีน คิวมีนและโทลูอีน | en |
dc.description.abstractalternative | The used polystyrene was mixed with one of three acid catalysts: HZSM-5, Fe/Activated carbon and Co-Mo/Al[subscript 2]O[subscript 3] in the micro reactor of 70 ml. The cracking process was performed at reaction temperature 350-400 ํC, reaction time 60-180 min, initial hydrogen pressure 1-5 bars and containing 0.1-1 %w of HZSM-5, 1-5 %w of Fe/Activated carbon and Co-Mo/Al[subscript 2]O[subscript 3]. The two level factorial experimental designed was experimented to produced the best product and components. The optimum conditions of cracking used PS on HZSM-5 were 370 ํC, 90 min, 1 bar and catalyst content 0.1 %w. The oil yield was 88.3 %w and composed of gasoline, kerosene, light gas oil, gas oil and long residue (28, 3, 40, 3 and 26 percentage, respectively). The optimum conditions of cracking used PS on Fe/activated carbon were 370 ํC, 120 min, 1 bar and catalyst content 5 %w. The oil yield was 88.7 %w and composed of gasoline, kerosene, light gas oil, gas oil and long residue (24, 1, 45, 2 and 28 percentage, respectively). The optimum conditions of cracking used PS on Co-Mo/Al[subscript 2]O[subscript 3] were 370 ํC, 90 min, 1 bar and catalyst content 5 %w. The oil yield was 91.2 %w and composed of gasoline, light gas oil, gas oil and long residue (33, 40, 1 and 26 percentage, respectively). These oil products were analyzed from gas chromatography and mainly obtained ethylbenzene cumene and toluene | en |
dc.format.extent | 1599113 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โพลิสไตรีน--การนำกลับมาใช้ใหม่ | en |
dc.subject | พลาสติก--การนำกลับมาใช้ใหม่ | en |
dc.subject | การเร่งปฏิกิริยา | en |
dc.title | การแตกตัวพอลิสไตรีนใช้แล้วโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยากรด | en |
dc.title.alternative | Cracking of used polystyrene using acid catalysts | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | dsomsak@sc.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.