Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร
dc.contributor.authorนิศรา สายันต์วิสุทธิคาม
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-08-07T09:44:48Z
dc.date.available2013-08-07T09:44:48Z
dc.date.issued2538
dc.identifier.isbn9746322095
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34177
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการฝึกการสอนตนเอง การฝึกการพิจารณาข่าวสารและการฝึกทำกิจกรรมในเครื่องมือฝึกทักษะการฟังที่มีต่อทักษะการฟังข่าวสารเชิงอ้างอิงในเด็กอายุ 5 ปี ผลการวิจัยพบว่า 1. ระยะหลังทดลอง เด็กที่ได้รับการฝึกการสอนตนเองมีทักษะการฟังข่าวสารเชิงอ้างอิงเพิ่มขึ้นมากกว่าเด็กที่ได้รับการฝึกการพิจารณาข่าวสาร และเด็กที่ได้รับการฝึกการพิจารณาข่าวสารมีทักษะการฟังข่าวสารเชิงอ้างอิงเพิ่มขึ้นมากกว่าเด็กที่ได้รับการฝึกทำกิจกรรมในเครื่องมือฝึกทักษะการฟังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนในระยะติดตามผล เด็กที่ได้รับการฝึกการสอนตนเองและเด็กที่ได้รับการฝึกการพิจารณาข่าวสารมีทักษะการฟังข่าวสารเชิงอ้างอิงเพิ่มขึ้นจากระยะก่อนทดลองไม่แตกต่างกัน และทั้งสองกลุ่มมีทักษะดังกล่าวเพิ่มขึ้นมากกว่าเด็กที่ได้รับการฝึกทำกิจกรรมในเครื่องมือฝึกทักษะการฟังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ในระยะก่อนทดลอง เด็กทุกกลุ่มมีทักษะการฟังข่าวสารที่ให้ข้อมูลเพียงพอมากกว่าทักษะการฟังข่าวสารที่ให้ข้อมูลคลุมเครือบางส่วน และมีทักษะการฟังข่าวที่ให้ข้อมูลคลุมเครือบางส่วนมากกว่าทักษะการฟังข่าวสารที่ให้ข้อมูลคลุมเครือทั้งหมด แต่ในระยะหลังทดลองและติดตามผล เด็กแต่ละกลุ่มมีความมากน้อยของทักษะการฟังข่าวสารเชิงอ้างอิงจำแนกตามประเภทของข่าวสารแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เด็กทุกกลุ่มมีทักษะการฟังข่าวสารเชิงอ้างอิงเพิ่มขึ้นจากระยะก่อนทดลอง ทั้งในระยะหลังทดลองและติดตามผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to compare the method of self-instruction training (SI), the message detection training (MD) and the training of listening skill activities (LSD) on listening skill for referential communication in five year-old children. Results indicated that : 1. In the posttest period: subjects in SI group had higher listening skill for referential communication than subjects in MD group and subjects in MD group had higher listening skill for referential communication than subjects in LSD group (p < .01). In the follow-up period: subjects in SI group and MD group had no significant difference on listening skill for referential communication, however both SIT and MD subjects showed significantly better listening skill for referential communication than subjects in LSD group (p < .05) 2. In the pretest period, subjects in all groups (SI, MD, LSD) had listening skill for referential communication on informative message more than partially ambiguous message and had listening skill for referential communication on partially ambiguous message more than totally ambiguous message (p < .05), but in the posstest and the follow-up periods; subjects in each group showed significant difference on the level of listening skill for referential communication among all types of message (p < .05). 3. Subjects in all groups showed significant increments on their listening skill for referential communication across the pretest, the posttest and the follow-up periods (p < .05).
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเด็ก
dc.subjectการฟัง -- การศึกษาและการสอน
dc.subject
dc.subjectการศึกษาขั้นก่อนประถม -- ไทย
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการฝึกการสอนตนเองการฝึกการพิจารณาข่าวสาร และการฝึกทำกิจกรรมในเครื่องมือฝึกทักษะการฟัง ที่มีต่อทักษะการฟังข่าวสารเชิงอ้างอิงในเด็กอายุ 5 ปีen_US
dc.title.alternativeA comparative study of the self-instruction training, the message detection training and the training of listening skill activities on listening skill for referential communication in five year-old childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nisara_sa_front.pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open
Nisara_sa_ch1.pdf22.02 MBAdobe PDFView/Open
Nisara_sa_ch2.pdf7.03 MBAdobe PDFView/Open
Nisara_sa_ch3.pdf13.4 MBAdobe PDFView/Open
Nisara_sa_ch4.pdf11.08 MBAdobe PDFView/Open
Nisara_sa_ch5.pdf3.17 MBAdobe PDFView/Open
Nisara_sa_back.pdf21.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.