Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34300
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์-
dc.contributor.authorภิญญ์นภัส พันธุ์ดนตรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-08-08T07:51:34Z-
dc.date.available2013-08-08T07:51:34Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34300-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก่ อายุ ระยะเวลาการเจ็บป่วย อาการข้างเคียงของยารักษาโรคจิต ความคิดอัตโนมัติในด้านลบ การใช้สารเสพติด การสนับสนุนทางสังคม เหตุการณ์ความเครียดในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเสนา และโรงพยาบาลชัยบาดาล จำนวน 143 ราย ทำการสุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของเบค แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมและแบบประเมินเหตุการณ์เครียดในชีวิต ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .89,.96,93, และ .63 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1.อายุ ระยะเวลาการเจ็บป่วย การใช้สารเสพติด และการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.ความคิดอัตโนมัติในด้านลบ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. อาการข้างเคียงของยารักษาโรคจิตและเหตุการณ์ความเครียดในชีวิตไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive research was to study the relationship between the factors related to depression of schizophrenic patients in community and their relationships among age, duration of illness, extrapyramidal side effect , using drug substance ,automatic though, , social support and life stress event. Subjects were 143 schizophrenic patients who follow up in Out Patients Department at Sena Hospital and Chaibadan Hospital were selected by multi stage random sampling technique. The research instruments were the Personal Data Reccord,Beck Depression Inventory, Automatic Thought ,Social Support and Life Stress Event. The reliability of questionnaire were .89,.96,93and.63 respectively. Statistic technique used in data analysis were frequency, percent, mean, standard deviation, Pearson’ s Product Moment Correlation. Major findings were as follows; 1.Among age, duration of illness, using drug substance and Social Support were negatively correlated to depression (p<.05) 2.Automatic Thought was positively correlated to depression (p<.05) 3.Extrapyramidal Side Effect and Life Stress Event were not correlated to depression of schizophrenic patients.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.436-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภทen_US
dc.subjectความซึมเศร้าen_US
dc.subjectSchizophrenicsen_US
dc.subjectDepressionen_US
dc.titleปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิตเภทชุมชนในเขตภาคกลางen_US
dc.title.alternativeSelected factors related to depression of schizophrenic patients in the community, Central regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisordnayus@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.436-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pinnaphat_ph.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.