Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจริต เพียรชอบ-
dc.contributor.advisorสมหวัง พิธิยานุวัฒน์-
dc.contributor.authorบุหงา วัฒนะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-08T10:01:15Z-
dc.date.available2013-08-08T10:01:15Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745773727-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34365-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractจุดประสงค์ของการวิจัยเพื่อนำเสนอรูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพ เพื่อส่งเสริมเจตคติทางบวกต่อวิชาชีพครู ให้แก่นักศึกษาในวิทยาลัยครู ผลการวิจัยค้นพบว่า 1. รูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพที่ได้นำเสนอได้กำหนดองค์ประกอบที่สำคัญของรูปแบบ 4 อย่าง คือ (1) การเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (2) การใช้ระบบการนิเทศที่เอื้อให้นักศึกษาประสบผลสำเร็จในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (3) การได้เห็นแบบอย่างที่ดีจากอาจารย์พี่เลี้ยงและ (4) การปรับเปลี่ยนเจตคติต่อวิชาชีพ โดยใช้ทฤษฎีการให้ข่าวสารโดยตรง 2. ขั้นตอนของการจัดดำเนินการตามรูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพเพื่อส่งเสริมเจตคติทางบวกต่อวิชาชีพครู มีดังนี้ คือ (1) วัดเจตคติต่อวิชาชีพครู (2) ประเมินความต้องการเบื้องต้น (3) วิเคราะห์ความต้องการเบื้องต้น (4) จัดโปรแกรมเสริมเพื่อพัฒนาทักษะและพัฒนาตนเองให้พร้อมก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (5) ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (6) จัดหาอาจารย์พี่เลี้ยงที่ดี (7) จัดระบบนิเทศที่จะช่วยให้นักศึกษาประสบผลสำเร็จในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพมากขึ้น (8) จัดฝึกอบรมแบบเข้มเพื่อปรับเปลี่ยนเจตคติต่อวิชาชีพครู (9) วัดเจตคติต่อวิชาชีพครู (10) ประเมินโปรแกรมย่อยทั้งหมด 3. ผลการทดลอง ปรากฏผลดังต่อไปนี้ (1) การประเมินคุณค่าของวิชาชีพครูทั้งของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 และ 4 ของกลุ่มทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุม เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการทดลองภายในแต่ละกลุ่ม ส่วนคะแนนเฉลี่ยเจตคติต่อวิชาชีพครู การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และความตั้งใจใฝ่ประกอบอาชีพครู ไม่แตกต่างกัน (2) เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มพบว่า เจตคติต่อวิชาชีพครูของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 กลุ่มทดลองสูงกว่า กลุ่มควบคุม ส่วนคะแนนเฉลี่ย การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ความตั้งใจใฝ่ประกอบอาชีพครู และประเมินคุณค่าของวิชาชีพครู ไม่แตกต่างกัน
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to propose the model for the management of professional experiences to foster positive attitudes towards the teaching profession of Teachers College students. Major findings : 1. The major components of the model were as follows : (1) preparing students’ readiness before going to have professional experiences in elementary school. (2) using a good supervisory system (3) providing a good modeling from cooperating teacher in elementary school (4) providing the intensive course for enhancing attitude towards the teaching profession. 2. The steps for operating the model for the management of professional experiences to foster positive attitude towards teaching profession consisted of (1) pre testing the students’ attitudes towards teaching profession (2) need assessment (3) analyzing need assessment (4) setting up the program to foster teaching skills and readiness before having professional experiences (5) having professional experiences (6) providing outstanding cooperating teachers (7) organizing systematic supervision (8) providing intensive course for enhancing positive attitude towards teaching profession (9) post testing attitudes towards teaching profession (10) subprogram summative evaluation 3. The model testing findings were as follows : (1) gain scores on the evaluation of value of the teaching profession of the third year and fouth year students in the experimental group were higher than those of the students in the control group while there were no difference in attitudes towards the teaching profession, subjective norm and intention to be a teacher. (2) when compare by t-test group technique attitudes towards the teaching profession of the third year students in the experimental group were higher than those of the control group while there were no difference in subjective norm, intention to be a teacher and evaluation of value of the teaching profession.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเปลี่ยนทัศนคติ
dc.subjectประสบการณ์วิชาชีพครู
dc.subjectนักศึกษาวิทยาลัยครู -- ทัศนคติ
dc.subjectการฝึกหัดครู -- ไทย
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิต
dc.titleการนำเสนอรูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพ เพื่อส่งเสริมเจตคติทางบวกต่อวิชาชีพครูของนักศึกษาในวิทยาลัยครูen_US
dc.title.alternativeA proposed model for the management of professional experiences to foster positive attitudes towards the teaching profession of teachers college studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bunga_wa_front.pdf5.92 MBAdobe PDFView/Open
Bunga_wa_ch1.pdf13.71 MBAdobe PDFView/Open
Bunga_wa_ch2.pdf26.3 MBAdobe PDFView/Open
Bunga_wa_ch3.pdf7.58 MBAdobe PDFView/Open
Bunga_wa_ch4.pdf16.06 MBAdobe PDFView/Open
Bunga_wa_ch5.pdf4.24 MBAdobe PDFView/Open
Bunga_wa_back.pdf74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.