Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพักตร์ อุทิศ-
dc.contributor.authorมนัส สุนทรโชติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย (ภาคตะวันออก)-
dc.date.accessioned2013-08-09T03:41:55Z-
dc.date.available2013-08-09T03:41:55Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34428-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการวิจัยแบบบรรยายเชิงความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพลังต้านการเสพยาบ้าของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำบัดการเสพยาบ้าแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในเขตภาคตะวันออก 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเอง การเผชิญความเครียด การรับรู้ความรุนแรงของการเสพยาบ้า ความเข้มแข็งของครอบครัว การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนกับพลังต้านการเสพยาบ้า ของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำบัดแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในเขตภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นชายอายุ 12- 21 ปี ที่ถูกคดีเสพยาบ้าและถูกส่งตัวมารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกในระบบบังคับบำบัด ของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนในเขตภาคตะวันออก จำนวน 140 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย ตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กำหนดไว้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 7 ชุด คือ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามการเห็นคุณค่าในตนเอง 3) แบบสอบถามการเผชิญความเครียด 4) แบบสอบถามดัชนีวัดความรุนแรงของการใช้แอมเฟตามีน 5) แบบสอบถามความเข้มแข็งของครอบครัว 6) แบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนตามการรับรู้ของวัยรุ่นที่เสพติดยาบ้า และ 7) แบบวัดพลังต้านการเสพยาบ้า เครื่องมือทุกชุดผ่านการพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 ท่าน และตรวจสอบค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคสำหรับเครื่องมือชุดที่ 2-7 คือ .88, .91,.83,.93 และ .83 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความฉี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.วัยรุ่นที่เข้ารับการบำบัดการเสพยาบ้าแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในเขตภาคตะวันออกส่วนใหญ่ คือ ร้อยละ 50.70 มีพลังต้านการเสพยาบ้าในระดับน้อย 2. พลังต้านการเสพยาบ้าของวัยรุ่นมีความสัมพันธ์กับความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง การเผชิญความเครียด ทั้ง 3 แบบ คือการใช้ความสามารถของตนเอง การใช้แหล่งสนับสนุนอื่นๆและแบบหลีกเลี่ยงปัญหา และ รับรู้การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อน (r=.195, .541, .367, .246 และ .309 ตามลำดับ) ส่วนการรับรู้ความรุนแรงของการเสพยาบ้าและการรับรู้ความเข้มแข็งของครอบครัวพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับพลังต้านการเสพยาบ้าของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำบัดการเสพen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive correlational research were: 1) to examine the prevalence of resilience to amphetamine use of adolescent receiving treatment out patient department, eastern region hospitals and 2) to study the relationships between selected factors including self esteem, coping, related to the physical and psychological effects of drug, family hardiness index and social support by peer. A total sample of 140 amphetamine use of adolescents, who met the inclusion criteria, was drawn out patient departments of eastern hospitals. Research instruments consist of 7 questionnaires namely: 1) demographic data sheet, 2) The Rosenberg’s Self-Esteem Scale, 3) The Adolescent Coping Scale 4) Addiction Scale, 5) The Family Hardiness Index, 6) The Social support by Peers and 7) The Resilience to drug use Scale. All instruments were validated for content validity by 7 experts and tested for reliability. The Cronbach’s Alpha coefficient reliability were .88, .91, .93, .83, .93 and .83 respectively Statistic techniques utilized in data analysis were, percentage, mean, standard deviation, Contingency Coeffcient and Correlation. Finding were summarized as follow: 1. Amphetamine use of adolescents receiving treatment out patient department, eastern region hospitals was 50.70% 2. History of resilience to amphetamine use of adolescent receiving treatment out patient department, eastern region hospitals were significantly related to self esteem, challenge appraisal, problem-focused coping, others support coping and The Social support by Peer (r= .194, p= 0.05, r= .541, p=0.01,r= .359, p=0.01 and r=.309, p= 0.001, respectively) Family Hardiness, The Social support by Peer were not significantly related to resilience to drug use of adolescent receiving treatment out patient department, eastern eastern region hospitals.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.569-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสถานบำบัดผู้ติดสารเสพติด -- ไทย (ภาคตะวันออก)en_US
dc.subjectพฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- การรักษาen_US
dc.subjectพฤติกรรมการติดยา -- การรักษาen_US
dc.subjectพฤติกรรมการติดยา -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectความสามารถในการฟื้นพลังen_US
dc.subjectSubstance abuse treatment facilities -- Thailand, Easternen_US
dc.subjectAmphetamine abuse -- Treatmenten_US
dc.subjectDrug addiction -- Treatmenten_US
dc.subjectDrug addiction -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectResilience (Personality trait)en_US
dc.titleปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพลังต้านการเสพยาบ้าของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำบัดแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลในเขตภาคตะวันออกen_US
dc.title.alternativeSelected factors related to resilience to amphetamine use of adolescent receiving treatment, out patient department, Eastern region hospitalsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpenpaktr@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.569-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
manus_so.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.