Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34446
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรุฬห์ ลีลาพฤทธิ์
dc.contributor.advisorจุมพล รอดคำดี
dc.contributor.authorอนงค์วรรณ ยั่งยืน
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-08-09T07:22:45Z
dc.date.available2013-08-09T07:22:45Z
dc.date.issued2527
dc.identifier.isbn9745637238
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34446
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถานภาพของโสตทัศนูปกรณ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ 2. เพื่อศึกษาความต้องการในการใช้โสตทัศนูปกรณ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ 3. เพื่อศึกษาการใช้โสตทัศนูปกรณ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ การดำเนินงาน ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามไปยังหัวหน้างานประชาสัมพันธ์ หรือผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ จำนวน 72 คน และสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานโสตทัศนูปกรณ์ จำนวน 3 คน นำแบบสอบถามและข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ โดยหาค่าร้อยละ โดยหาค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ยน้ำหนัก ผลการวิจัย 1. ผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ส่วนใหญ่เป็นเพศชายและมีประสบการณ์ด้านการประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่ 6-10 ปี 2. แผนงานประชาสัมพันธ์กำหนดโดยผู้บริหารระดับสูง ส่วนใหญ่หน่วยงานที่รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ มีฐานะเป็นแผนก 3. โสตทัศนูปกรณ์ซึ่งรัฐวิสาหกิจใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์มากที่สุดคือ ข่าว ภาพถ่าย กล้องถ่ายรูป และมีการเผยแพร่ข่าวทางหนังสือพิมพ์ 4. การดำเนินงานตามแผนการผลิตทั้งด้านสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุไม่แน่นอน ได้รับงบประมาณในการจัดทำเป็นรายปีและจัดซื้อเพิ่มเติมได้ทันทีที่ต้องการ จะทำการซ่อมแซมอุปกรณ์เมื่อเกิดความเสียหาย 5. ต้องการบุคลากรที่มีคุณภาพ ซึ่งควรมีความรู้ระดับปริญญาตรีทางด้านที่ตรงกับสายงาน และมีประสบการณ์ในการทำงานอย่างน้อย 1 ปี 6. ในการเลือกใช้โสตทัศนูปกรณ์ ส่วนใหญ่ใช้เกณฑ์ในการพิจารณาให้ตรงกับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา สามารถสื่อความหมายได้โดยง่าย ข้อเสนอแนะ 1. การบริหารงานโสตทัศน ควรมีการวางแผนระยะยาวและกระทำอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้บริหารควรสนใจกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น 3. หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ควรเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของโสตทัศนูปกรณ์ เพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ 4. ควรเสริมความรู้ผู้ปฏิบัติงานด้านนี้โดยการฝึกอบรม 5. ควรจัดสถานที่ให้เป็นสัดส่วนทั้งทางด้านการผลิตและการจัดเก็บ เพื่อสะดวกแก่การปฏิบัติงานและการให้บริการ
dc.description.abstractalternativePurposes : 1. To study the status of audio-visual materials for public relations in government enterprises. 2. To study the needs of audio-visual materials for public relations in government enterprises. 3. To study the utilization of audio-visual materials for public relations in government enterprises. Procedure : Questionaires were sent to 72 chiefs of public relations in government enterprises including authorities who are responsible for public relations and interviewed 3 officers who deal with audio-visual materials. The collected data were analysed in terms of percentage, rating scales and data grouping. Conclusions : 1. Most of the authorities who are responsible for public relations in government enterprises are male and have experiences in this field from 6 to 10 years. 2. Public relations planning will be decided by executive authorities. Most units of public relations have status as sections. 3. Most of the audio-visual materials used in government enterprises are news, photographs, cameras and press release. 4. Proceeding with production planning on printed materials and audio-visual materials are inconsistent. Operation budget of most of government enterprises will be approved year by year, visual aids can be bought as required and can be repaired when damaged. 5. Skilled persons, bachelor’s degree in the field concerned, at least one year experience are needed. 6. Selecting audio-visual materials generally depends on objectives and capable to make the communications be easy. Suggestions : 1. Administration of audio-visual materials should have long-term programme and follow-up continuity. 2. Executive authorities should be interested in following up new technology concerned. 3. Chiefs of public relations have to be qualified in audio-visual knowledge for expanding fruitful effectiveness. 4. Arranging training for man-power should be promoted. 5. Sectional areas should be set for practical works of keeping and providing services.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโสตทัศนวัสดุ
dc.subjectการประชาสัมพันธ์
dc.subject.otherการประชาสัมพันธ์
dc.subject.otherโสตทัศนวัสดุ
dc.subject.otherการประชาสัมพันธ์
dc.titleการศึกษาสถานภาพ ความต้องการ และการใช้โสตทัศนูปกรณ์ ในงานประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจen_US
dc.title.alternativeA stduy of status, needs, and utilization of audio-visual materials for public relations in government enterprisesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anongvan_yo_front.pdf6.26 MBAdobe PDFView/Open
Anongvan_yo_ch1.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open
Anongvan_yo_ch2.pdf14.25 MBAdobe PDFView/Open
Anongvan_yo_ch3.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open
Anongvan_yo_ch4.pdf19.09 MBAdobe PDFView/Open
Anongvan_yo_ch5.pdf4.31 MBAdobe PDFView/Open
Anongvan_yo_back.pdf13.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.