Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34485
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จันทนา จันทโร | - |
dc.contributor.author | อนันต์ชัย สกลรักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-08-09T10:36:20Z | - |
dc.date.available | 2013-08-09T10:36:20Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.isbn | 9746327968 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34485 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อทำการปรับปรุงระบบควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม สำหรับกระบวนการผลิตเครื่องสุขภัณฑ์โดยใช้โรงงานตัวอย่าง ซึ่งวัตถุดิบที่ใช้งานส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ดังนั้นจึงมักเกิดปัญหาในการควบคุมคุณภาพสำหรับการผลิตทั้งสิ้น เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการตรวจรับวัตถุดิบจนถึงการส่งมอบสินค้า จากการสำรวจสภาพทั่วไปของโรงงานตัวอย่างพบว่าระบบควบคุมคุณภาพยังไม่มีประสิทธิภาพ อันส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น การตรวจรับวัตถุดิบ ขาดมาตรฐานของวัตถุดิบ และการควบคุมกระบวนการผลิต รวมทั้งขาดการใช้ข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นในการนำเสนอวิธีการจัดการระบบควบคุมคุณภาพที่เหมาะสมกับโรงงานตัวอย่าง โดยพิจารณาให้มีความสอดคล้องกับระบบและกระบวนการผลิตที่มีอยู่ รวมทั้งแนวทางในการปรับปรุงที่เป็นไปได้ทั้งทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1. เสนอการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบคุณภาพ และจัดทำเอกสารแสดงหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงาน 2. เสนอวิธีการควบคุมคุณภาพสำหรับวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิตอันได้แก่ ดินขาว ดินเหนียว ปูนปลาสเตอร์ ทรายแก้ว และหินฟันม้า โดยการกำหนดแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับวัตถุดิบ 3. เสนอวิธีการจัดทำมาตรฐานวัตถุดิบ 4. เสนอวิธีการประเมินคุณภาพผู้จัดส่งวัตถุดิบ 5. เสนอวิธีการควบคุมคุณภาพในกระบวนผลิตโดยกำหนดจุดตรวจสอบที่สำคัญ 6. จัดทำเอกสารที่จำเป็นและสอดคล้องกับระบบควบคุมคุณภาพที่ปรับปรุง เพื่อใช้ในการควบคุมการปฏิบัติงานและรักษาระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ จากผลการดำเนินงานการปรับปรุงคุณภาพภายในโรงงานตัวอย่าง แสดงให้เห็นถึงวิธีการและจุดที่ทำการควบคุมคุณภาพ การประเมินคุณภาพผู้จัดส่ง รวมทั้งการใช้ข้อมูลเพื่อจัดทำมาตรฐานวัตถุดิบ และเพื่อการจัดทำระบบการตรวจสอบวัตถุดิบ ซึ่งเป็นส่วนที่จัดทำเพิ่มเติมและปรับปรุงจากระบบควบคุมคุณภาพที่มีอยู่เดิม | |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to study the proper method for the quality control improvement of sanitary ware processing in model factory. By major of raw material is natural thing which is the cause of poor quality control system as incoming inspection control, no standard value of raw material, production control and using data in quality control. This research presents the quality control system that is appropriate for the model factory by following 1. Redesign the structure of quality control organization. 2. Setting the quality control of incoming raw material (clay, silica, feldspar and plaster of paris) by design the acceptance sampling plan. 3. Setting the method of calculate standard value of raw material. 4. Setting the quality evaluation of supplier. 5. Define the major of inspection in process. 6. Design the proper documents for quality control system. From improvement of quality control system, show the method and point of quality control, quality evaluation for supplier and conclude with using the information for setting the material standard and setting quality control of incoming inspection system that improve from the old quality system. | |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมเครื่องสุขภัณฑ์ -- การควบคุมคุณภาพ | |
dc.subject | วัตถุดิบ -- การควบคุมคุณภาพ | |
dc.subject | เครื่องสุขภัณฑ์ -- ไทย | |
dc.title | การปรับปรุงระบบควบคุมคุณภาพสำหรับกระบวนการผลิตเครื่องสุขภัณฑ์ | en_US |
dc.title.alternative | Improvement of quality control system for sanitary ware production process | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ananchai_sa_front.pdf | 3.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_ch1.pdf | 4.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_ch2.pdf | 6.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_ch3.pdf | 3.17 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_ch4.pdf | 3.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_ch5.pdf | 17.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_ch6.pdf | 8.42 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_ch7.pdf | 18.93 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_ch8.pdf | 12.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_ch9.pdf | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ananchai_sa_back.pdf | 5.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.