Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34697
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล ว่องวาณิช-
dc.contributor.authorมาริษา ช่วยปู-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-08-12T08:10:07Z-
dc.date.available2013-08-12T08:10:07Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34697-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวคิดการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระหว่างก่อนและหลังการปฏิรูปการศึกษา 2) เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการปฏิรูปการศึกษา และ 3) เพื่อวิเคราะห์ผลของแนวคิดการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังปฏิรูปการศึกษาที่มีต่อลักษณะของหนังสือเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7คน และหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษาระหว่างก่อนปฏิรูปการศึกษาและหลังปฏิรูปการศึกษา ของสำนักพิมพ์เอกชนและของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) จำนวน 18 เล่ม ได้แก่ หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 6 เล่ม หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 6 เล่ม และหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 6เล่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสัมภาษณ์ และแบบวิเคราะห์หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อวิเคราะห์เนื้อหาในแบบเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติพื้นฐานด้านดัชนีความน่าอ่าน (Readability Index) และดัชนีความยากในการอ่าน (Reading Difficulty Index) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ แนวคิดการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระหว่างก่อนและหลังการปฏิรูปการศึกษามีความแตกต่างกัน หนังสือเรียนมีค่าดัชนีความน่าอ่านและดัชนีความยากในการอ่านไม่แตกต่างกัน และแนวคิดการจัดการเรียนการสอนส่งผลให้หนังสือเรียนก่อนและหลังปฏิรูปการศึกษาแตกต่างกัน หลังปฏิรูปการศึกษามีการปรับเปลี่ยนวิธีการเขียนให้น่าอ่านและมีวิธีการนำเสนอเนื้อหาที่เร้าความสนใจของผู้เรียนทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการคิด พร้อมกับลดเนื้อหาในหนังสือเรียนแต่เพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการสืบค้น สำรวจ ทดลอง ฝึกการทำกิจกรรม เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ และลดบทบาทของครูผู้สอนจากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการวางแผนจัดกิจกรรมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ กิจกรรมต่างๆen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: 1) to compare and analyze science instructional approaches and textbooks before and after the education reform, 2) to analyze science textbook characteristics before and after the education reform, and 3) to analyze science instructional approaches used with science textbooks before and after the education reform. The samples have been taken from a group of 7 individuals, including experts in the area of science textbooks for the elementary phase. The samples include a contrast from before and after the education reform implemented by The Imprint Private and the Institute for Teaching Science and Technology (IPST). 10 elementary grade science textbooks were used for the study: 6 books at grade 4, 6 books at grade 5 and 6 books at grade 6 The methods used to produce the results for the study were interviews with individuals and experts to produce the qualitative results. The quantitative results were formed using content analyzes of the text books which involved drawing statistical data on indexes – reading index (readability index) and the difficulty in reading index (reading difficulty index) . The results are summarized as follows: Science instructional approaches show a noticeable difference before and after the education reform. The readability and reading difficulty indexes show no variable differences before or after the education reform. The difference in instructional approaches before and after the education reform has led to the differences in the way textbooks are designed. After the education reform, the content presentation in textbooks has changed to inspire students’ interests and enhance thinking process skills. The content of textbooks has decreased giving more emphasis now on learning activities to develop students’ questioning and experimental skills. The role of the teacher has changed from the teller or lecturer to the activity planner.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.698-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en_US
dc.subjectระบบการเรียนการสอน -- วิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- แบบเรียนen_US
dc.subjectการปฏิรูปการศึกษาen_US
dc.subjectScience -- Study and teaching (Elementary)en_US
dc.subjectInstructional systems -- Scienceen_US
dc.subjectScience -- Textbooksen_US
dc.subjectEducational changeen_US
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวคิดการจัดการเรียนการสอนและลักษณะหนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาก่อนและหลังการปฏิรูปการศึกษาen_US
dc.title.alternativeA comparative analysis of science instructional approaches and textbook characteristics at the elementary school level before and after the education reformen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorwsuwimon@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.698-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
marisa_ch.pdf3.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.