Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34775
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พล สาเกทอง | - |
dc.contributor.advisor | ชูชาติ บารมี | - |
dc.contributor.author | องอาจ แสงรุ่ง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-08-13T08:37:34Z | - |
dc.date.available | 2013-08-13T08:37:34Z | - |
dc.date.issued | 2530 | - |
dc.identifier.isbn | 9745671193 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34775 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 | en_US |
dc.description.abstract | เมล็ดยางพาราเป็นวัสดุเหลือใช้การเกษตรที่สำคัญชนิดหนึ่งในประเทศไทย จากการวิเคราะห์น้ำมันเมล็ดยางพาราแสดงคุณสมบัติบางประการที่อาจจะนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ข้อเสียของน้ำมันเมล็ดยางพาราคือ ความหนืด ปริมาณยางเหนียว และค่าของกรดสูง งานวิจัยนี้เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการทำน้ำมันเมล็ดยางพาราให้บริสุทธิ์ โดยกระบวนการกำจัดยางเหนียว กระบวนการกำจัดกรดไขมันอิสระ และกระบวนการฟอกสี สภาวะที่เหมาะสมในการทดลองมีดังนี้ กระบวนการกำจัดยางเหนียวใช้กรดฟอสฟอริกเข้มข้นร้อยละ 0.5 โดยน้ำหนักน้ำมันอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เวลา 20 นาที กระบวนการกำจัดกรดไขมันอิสระ ใช้ประมาณมากเกินพอของโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 10 โดยน้ำหนักกรดไขมันอิสระ อุณหภูมิ 65 องศาเซลเซียส เวลา 10 นาที กระบวนการฟอกสีใช้ activated clay ร้อยละ 4 โดยน้ำหนักน้ำมัน อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส เวลา 20 นาที การรักษาคุณภาพน้ำมัน เติมสาร BHT ร้อยละ 0.02 โดยน้ำหนักน้ำมัน สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีเล็กน้อยในช่วงเวลา 120 วัน จากการทดลองในช่วงเวลา 130 ชั่วโมง ใช้น้ำมันเมล็ดยางพาราผสมร้อยละ 40 เทียบกับน้ำมันดีเซล มีปริมาณเหล็กในน้ำมันหล่อลื่น เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.57 | |
dc.description.abstractalternative | Rubber seeds are one of important agricultural wastes in Thailand. The analysis of oil from rubber seeds showed some properties that may be used as a fuel. Disadvantages of rubber seed oil are its high viscosity, gum content, acid value. This work was performed to find the optimum conditions of refining rubber seed oil by degumming, neutralizing and bleaching. The followings are the optimum found : - degumming : 0.5% H₃PO₄ by weight of the oil, emperature 60 ℃, time 20 minutes. – neutralizing : 10% exess NaOH by weight of free fatty acid, temperature 65 ℃, time 10 minutes. – bleaching : 4% activated clay by weight of the oil, temperature 110 ℃, time 20 minutes. – preservation : add 0.02% BHT by weight of the oil, no remarkable chemical properties changed during 120 days. 28.57% of Fe increased in lubricant used during 130 hours of work while using 40% mixing oil compared to diesel oil. | |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | น้ำมันเมล็ดยางพารา | |
dc.subject | ของเสียทางการเกษตร | |
dc.subject | การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ | |
dc.subject | เชื้อเพลิง | |
dc.subject | น้ำมันพืชที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง | |
dc.subject | เมล็ดยางพารา | |
dc.title | การปรับปรุงน้ำมันเมล็ดยางพาราเพื่อเป็นเชื้อเพลิง | en_US |
dc.title.alternative | Improvement of hevea rubber seed oil for fuel use | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ongard_sa_front.pdf | 9.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ongard_sa_ch1.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ongard_sa_ch2.pdf | 9.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ongard_sa_ch3.pdf | 7.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ongard_sa_ch4.pdf | 18.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ongard_sa_ch5.pdf | 7.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ongard_sa_ch6.pdf | 951.11 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ongard_sa_back.pdf | 20.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.