Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35041
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงรัตน์ บุญญานุรักษ์-
dc.contributor.advisorประนอม รอดคำดี-
dc.contributor.authorนันทา เลียววิริยะกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-14T07:05:21Z-
dc.date.available2013-08-14T07:05:21Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745774774-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35041-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมกับความวิตกกังวลของมารดามี่มีบุตรคลอดก่อนกำหนดและศึกษาการทำนายของโครงสร้างเครือข่ายทางสังคมและสนับสนุนทางสังคมในแต่ละด้านกับความวิตกกังวลของมารดาที่มีบุตรคลอดก่อนกำหนด ผลการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะโครงสร้างเครือข่ายทางสังคมของมารดาที่มีบุตรคลอดก่อนกำหนดมี 5 ประการคือ (1) สมาชิกของกลุ่มมีขนาดประมาณ 5 คน (2) สมาชิกส่วนใหญ่คือกลุ่มญาติ (3) วิธีการใช้ในการติดต่อกันมากที่สุดคือการพบประพูดคุย (4) ระยะเวลาที่ใช้ในการติดต่อกันโดยเฉลี่ย 13 ปี (5) ความถี่ในการติดต่อกันโดยเฉลี่ย 96 ครั้งต่อเดือน 2. การสนับสนุนทางสังคมโดยรวมอยู่ในระดับสูงและความวิตกกังวลโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 3. ความวิตกกังวลของมารดาที่มีบุตรคลอดก่อนกำหนดมีความสัมพันธ์ในเชิงนิเสธกับขนาดของกลุ่มสังคม วิธีการติดต่อโดยการพบปะพูคุย ความสัมพันธ์ในกลุ่มญาติ ความถี่ในการติดต่อ การตอบสนองความต้องการด้านอารมณ์ การได้รับการยอมรับยกย่องและมีผู้เห็นคุณค่า การได้รับการตอบสนองในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การได้รับโอกาสในการดูแลรับผิดชอบ การได้รับการช่วยเหลือด้านข้อมูล ข่าวสารและการได้รับการช่วยเหลือด้านการเงินสิ่งของแรงงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ความวิตกกังวลของมารดาที่มีบุตรคลอดก่อนกำหนดมีความสัมพันธ์ในเชิงนิเสธอยู่ในระดับสูงกับขนาดของกลุ่มสังคม วิธีการติดต่อโดยการพบปะพูดคุย การได้รับการตอบสนองความต้องการด้านอารมณ์ การได้รับการยอมรับยกย่องและมีผู้เห็นคุณค่า การได้รับการช่วยเหลือด้านข้อมูลข่าวสารและการได้รับการช่วยเหลือด้านการเงิน สิ่งของ แรงงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5. การตอบสนองด้านการได้รับความช่วยเหลือด้านการเงิน สิ่งของ แรงงาน การได้รับการตอบสนองความต้องการด้านอารมณ์ ขนาดของกลุ่มสังคม และการได้รับโอกาสในการดูแลรับผิดชอบมีความสัมพันธ์ในเชิงนิเสธกับความวิตกกังวลของมารดาที่มีบุตรคลอดก่อนกำหนดอยู่ในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับร้อยละ 91 6. การได้รับการยอมรับยกย่องและมีผู้เห็นคุณค่า ขนาดของกลุ่มสังคม และการได้รับการช่วยเหลือด้านการเงิน สิ่งของ แรงงาน สามารถร่วมกันทำนายความวิตกกังวลของมารดาที่มีบุตรคลอดก่อนกำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้ร้อยละ 88-
dc.description.abstractalternativeThe main purposes of this research were to study social support and anxiety level of premature infants’ mother and to search for the variables that would be able to predict the anxiety of premature infants’ mothers, the selected predetermined predictors were social network and social support. The major findings were: 1. Social network structure of premature infants’ mother shows 5 characteristics; (1) size of social group was 5 persons, (2) group members were mostly cousins, (3) way of contacting was mostly face to face interaction, (4) duration of contacting was 13 years and, (5) frequency of contacting was 96 times per month. 2. Social support of premature infants’ mothers was at the high level and anxiety was at moderate level. 3. Anxiety level of premature infants’ mothers showed negative significant correlated at the significant level .01 with social support and their components which were emotional support, esteem support, socially support, nurturance, informational support and instrumental support. 4. Anxiety level of premature infants’ mother showed negative significant correlated at the significant level .01 with size of social network, channel of communication, emotional support, esteem support, informational and instrumental support. 5. Informational support, emotional support, size of social network, and chance of work responsibility showed negative significant correlated at the significant level .05 with anxiety level of premature infants’ mothers and the multiple correlation coefficient was 91 percent. 6. Esteem support, size of social group and instrumental support were able to predict level of premature infants’ mothers at the significant level .05 with 88 percent.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความวิตกกังวล-
dc.subjectทารกคลอดก่อนกำหนด-
dc.subjectมารดา -- แง่จิตวิทยา-
dc.subjectเครือข่ายสังคม -- ไทย-
dc.subjectAnxiety-
dc.subjectPremature infants-
dc.subjectMothers -- Psychological aspects-
dc.subjectSocial networks -- Thailand-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมกับระดับความวิตกกังวล ของมารดาที่มีบุตรคลอดก่อนกำหนด ในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeRelationships among social supports and anxiety level of premature infants mothers in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nunta_le_front.pdf801.99 kBAdobe PDFView/Open
Nunta_le_ch1.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Nunta_le_ch2.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open
Nunta_le_ch3.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
Nunta_le_ch4.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Nunta_le_ch5.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open
Nunta_le_back.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.