Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35369
Title: Carbon footprint of flat and long steel products
Authors: Niwat Tontakul
Advisors: Pichaya Rachdawong
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Carbon dioxide mitigation
Iron industry and trade -- Environmental aspects
Steel industry and trade -- Environmental aspects
Forging industry -- Environmental aspects
คาร์บอนไดออกไซด์ -- การลดปริมาณ
อุตสาหกรรมเหล็ก -- แง่สิ่งแวดล้อม
อุตสาหกรรมเหล็กกล้า -- แง่สิ่งแวดล้อม
อุตสาหกรรมการหลอมโลหะ -- แง่สิ่งแวดล้อม
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study determines CO₂ emissions of steel products in Thailand using flat product and long product as a case study using the bottom-up and gate-to-gate approach. The boundary of the study covers from imported slabs and billets to hot rolled coils and rebars. Majority of the emission was originated from fuel combustion for heat (65-68%) and also electricity (32-35%) in the production line. This study proposes alternative solutions for emission reductions. For short-term solution, energy efficiency, is able to marginally reduce CO₂ intensity by as much as 7% in three years but not enough to cope with the growth of flat steel production. Fuel switching to natural gas which has lower carbon content could help reduce the emission up to 19% but will result in greater dependence on dwindling supply of fossil fuels. Switching to zero-emission biomass, which is abundant in Thailand, is able to virtually eliminate fuel-related emission, resulting in 65-68% of reduction from total emission. Biomass, too, could be used as electricity-generating fuels which will eliminate the electricity-related emission. Moreover, using biomass is one of solution for energy security situation. For electricity aspect, using cleaner source of energy could help reduce CO₂ emissions. If Power Development Plan 2010 could be successfully implemented, CO₂ intensity from the study plant in year 2030 would be 11.5 % lower than the 2009 level. For this to be successfully implemented, raw material supply system should be established to ensure continuous stream of fuel. Last but not least, there should be appropriate technologies, financial incentives, and the will power to ensure its success.
Other Abstract: งานวิจัยนี้ประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์เหล็กกล้าที่ผลิตในประเทศไทยจากผลิตภัณฑ์สองชนิด ได้แก่แผ่นเหล็กรีดร้อนและเหล็กลวด วิธีการคำนวณเป็นแบบจากล่างขึ้นบนโดยมีขอบเขตงานวิจัยเป็นแบบประตูสู่ประตู โดยเริ่มจากวัตถุดิบซึ่งได้แก่บิลเล็ทและสแลปที่นำเข้ามาจากต่างประเทศไปสิ้นสุดที่ผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กรีดร้อนและเหล็กลวด พบว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาส่วนใหญ่มาจากการเผาไหม้น้ำมันเตาเพื่อให้ความร้อนแก่วัตถุดิบคิดเป็น 65-68 เปอร์เซ็นต์ และส่วนที่เหลือ 32-35 เปอร์เซ็นต์มาจากการใช้ไฟฟ้าในโรงงาน งานวิจัยนี้ยังได้เสนอวิธีการลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มาตรการระยะสั้นได้แก่การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานนั้นสามารถลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ประมาณร้อยละ 7ในช่วงปี 2550-2552 ซึ่งยังคงไม่เพียงพอต่ออัตราการผลิตเหล็กที่เพิ่มสูงขึ้น การเปลี่ยนเชื้อเพลิงที่ใช้จากน้ำมันเตาไปเป็นก๊าซธรรมชาติที่มีปริมาณคาร์บอนที่ต่ำกว่า สามารถลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้ 19 เปอร์เซ็นต์และช่วยลดการพึ่งพาพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล แต่ถ้าสามารถเปลี่ยนเชื้อเพลิงไปเป็นเชื้อเพลิงชีวมวลซึ่งมีค่าการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เท่ากับศูนย์ได้แล้ว ก็จะสามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนจากเชื้อเพลิงได้จนเกือบหมด นั่นคือ 65-68 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณการปล่อยก๊าซทั้งหมด นอกจากนี้เชื้อเพลิงชีวมวลยังสามารถใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้อีกทางหนึ่งซึ่งเป็นการช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการใช้ไฟฟ้า อีกทั้งยังเป็นการใช้เชื้อเพลิงที่มีศักยภาพในเชิงปริมาณและลดการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศอีกด้วย สำหรับการใช้ไฟฟ้านั้น สามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้จากการหาแหล่งพลังงานไฟฟ้าที่สะอาดมากขึ้น ซึ่งถ้าสามารถนำแผนพัฒนาพลังงานแห่งชาติ ปี 2563 ที่มีการเพิ่มสัดส่วนแหล่งพลังงานสะอาดมาใช้ได้สำเร็จแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากผลิตภัณฑ์เหล็กจะลดลงไปได้ถึง 11.5 เปอร์เซ็นต์ ทั้งหมดนี้ จำเป็นต้องมีการพัฒนาเทคโนโลยี ระบบสนับสนุนต่าง ๆ อาทิเช่นการขนส่งเชื้อเพลิงและความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนแรงจูงใจด้านการเงินจากภาครัฐเพื่อให้ผลิตภัณฑ์เหล็กของประเทศไทยก่อผลกระทบต่อโลกน้อยลงอย่างยั่งยืน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Environmental Management (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35369
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1398
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.1398
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
niwat_to.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.