Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35444
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพศาล สันติธรรมนนท์ | - |
dc.contributor.author | สิทธินันท์ ทองใบ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-08-17T09:28:23Z | - |
dc.date.available | 2013-08-17T09:28:23Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35444 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลปริภูมิเชิงสัมพันธ์ (Geo-Spatial Relational Database System) สำหรับงานบำรุงทางและพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลสำหรับงานบำรุงทาง งานวิจัยเป็นการศึกษาโครงข่ายข้อมูลสายทางที่อยู่ในรูปแบบของแนวเส้นกลางบนสายทาง (Road Centerline) ใช้แนวคิดโครงสร้างข้อมูลสายทางสำหรับภูมิสารสนเทศ GIS-T และ NCHRP 20-27(3) และมาตรฐานการจัดการข้อมูลภูมิสารสนเทศโดยใช้ภาษา SQL (SQL/SF) และ SQL/MM รูปแบบโครงสร้างฐานข้อมูลสายทาง ประกอบด้วย การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างส่วนของสายทาง (Link Topology), รูปแบบการกำหนดตำแหน่งอ้างอิงบนสายทาง (Linear Referencing) ในการนำมาประยุกต์ใช้กับข้อมูลงานบำรุงทาง จากศึกษาวิจัยและวิเคราะห์โครงสร้างข้อมูล สามารถออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลปริภูมิ โดยเริ่มจากการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ข้อมูลสายทาง, ข้อมูลประวัติสายทาง, ข้อมูลหลักกิโลเมตร, ข้อมูลงานบำรุงทาง แล้วทำการวิเคราะห์และจัดกลุ่มข้อมูล การทำนอร์มัลไลซ์เซชั่น (Normalization) ซึ่งในการออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลใช้การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ (UML) การพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลสำหรับงานบำรุงทางเพื่อเผยแพร่และแสดงผลข้อมูลในรูปแบบของรายงานแบบตารางบนโปรแกรมประยุกต์ผ่านเครือข่ายของ Web Browser และสามารถปรากฏเป็นแผนที่บนซอฟต์แวร์ฟรีและรหัสเปิดสำหรับภูมิสารสนเทศ Quantum GIS จึงกล่าวได้ว่าระบบฐานข้อมูลสำหรับงานบำรุงทางสามารถใช้ความสามารถการกำหนดตำแหน่งอ้างอิงบนสายทาง (Linear Referencing System) และการวิเคราะห์ข้อมูลปริภูมิ (Spatial Analysis) ผ่านฐานข้อมูลปริภูมิโดยตรงซึ่งในการพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลที่มีความซับซ้อนโดยใช้ภาษา Procedure Language SQL (PL/SQL) มีการกำหนดรูปแบบการจัดการข้อมูลเชิงเวลาโดยใช้คุณสมบัติ “Admit_data”, “Retire_date” และ “Most_recent” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการข้อมูลตามวัตถุประสงค์การวิจัย | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to study and design a structure for relational spatial database management system and development a spatio-temporal querying for road maintenance. The study covers the design of road network model representing by road centerline. The study follows Geographic Information System for Transportation (GIS-T), National Cooperative Highway Research Program Project 20-27(NCHRP20-27(3)) road data model standards and was industry standard query language SQL Simple Feature (SQL/SF), SQL Multimedia (SQL/MM). The database scheme and feature includes link topology, linear referencing system for road networks. The relational database management system is developed for integrated road maintenance application with spatio-temporal attribute. The data development includes collecting road network, road inventory, kilometer posts and road maintenance records. The spatial database design is well normalized and based on Unified Modeling Language (UML). The constructed information system can be queried and disseminated on the web browser as reports and tables. Open source software Quantum GIS is used for presenting the spatial data and temporal changes as map. The introduced attributes “admit_date”, “retire_date” and “most_recent” columns are presented crucial role in spatio-temporal difference for road maintenance. This research shows that spatio-temporal database system can be applied to road maintenance and can efficiently support temporal changes. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.794 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ | en_US |
dc.subject | ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ | en_US |
dc.subject | การออกแบบฐานข้อมูล | en_US |
dc.subject | ถนน -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม -- ฐานข้อมูล | en_US |
dc.subject | Geographic information systems | en_US |
dc.subject | Relational databases | en_US |
dc.subject | Database design | en_US |
dc.subject | Roads -- Maintenance and repair -- Databases | en_US |
dc.title | การศึกษาและออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลปริภูมิสำหรับงานบำรุงทาง | en_US |
dc.title.alternative | A study and design of the spatial database for road maintenance | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Phisan.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.794 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
sittinun_th.pdf | 4.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.