Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35649
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชลัยพร เหมะรัชตะ-
dc.contributor.authorดวงจันทร์ พยัคพันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-19T10:51:20Z-
dc.date.available2013-08-19T10:51:20Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746353764-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35649-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้สารนิเทศของคณาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ในด้านวัตถุประสงค์ รูปแบบสารนิเทศ และแหล่งสารนิเทศ รวมทั้งปัญหาในการใช้สารนิเทศของคณาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ การวิจัยครั้งนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่ม ตัวอย่าง คือ คณาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพจำนวน 274 คน จากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐจำนวน 12 แห่ง และได้รับแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์กลับคืนมาจำนวน 166 ชุด คิดเป็นร้อยละ 60.6 ผลการวิจัยว่า คณาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ในการใช้สารนิเทศเพื่อการเรียนการสอน โดยคณาจารย์ใช้สารนิเทศในรูปแบบวัสดุตีพิมพ์ในระดับมาก คือ หนังสือตำราเรียน หนังสือเฉพาะเรื่อง และวารสารวิชาการ ส่วนวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่คณาจารย์ใช้ในระดับมาก คือ แผ่นใส สำหรับแหล่งสารนิเทศบุคคลที่คณาจารย์ใช้ในระดับมาก คือ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา นอกจากนี้คณาจารย์ยังใช้แหล่งสารนิเทศที่เป็นสถาบันในระดับมาก คือ ห้องสมุดคณะภายในหน่วยงาน และสำนักหอสมุดกลาง ส่วนปัญหาในการใช้สารนิเทศที่คณาจารย์ประสบมากที่สุด คือ สารนิเทศมีจำนวนน้อยและไม่เพียงพอ ผลการศึกษาความแตกต่างในการใช้สารนิเทศของคณาจารย์ พบว่า คณาจารย์ใช้สารนิเทศไม่แตกต่างกันตามตำแหน่งวิชาการ แต่แตกต่างกันบางส่วนตามสาขาวิชาและประสบการณ์ในการสอน-
dc.description.abstractalternativeThe questionnaires were distributed to 274 physical science faculty members in 12 state higher education institutions, and 166 complete questionnaires (60.6%) were returned. The results of the study were as follows: most of faculty members used information for teaching; the faculty members used printed materials, e.g. Textbooks, monographs, and technical journals at high level, while using non-print materials, e.g., transparencies at high level; they used subject specialists as interpersonal sources and faculty libraries at their own institutions as institutional sources at high level; problems encountered by most faculty members in inadequate information. The study of the differences in information use indicated that there was no significant difference between academic ranks but here were some difference between disciplines, and teaching experiences.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการใช้สารนิเทศของคณาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐen_US
dc.title.alternativeInformation use of physical science faculty members, in state higher education institutionsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Duangjan_ph_front.pdf779.8 kBAdobe PDFView/Open
Duangjan_ph_ch1.pdf762.9 kBAdobe PDFView/Open
Duangjan_ph_ch2.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Duangjan_ph_ch3.pdf686.81 kBAdobe PDFView/Open
Duangjan_ph_ch4.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open
Duangjan_ph_ch5.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Duangjan_ph_back.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.