Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐิรวัตร บุญญะฐี-
dc.contributor.authorสุวิทย์ ทิพย์ยาน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-08-30T14:55:25Z-
dc.date.available2013-08-30T14:55:25Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35768-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาเครื่องมือสำหรับการตรวจวัดการทรุดตัวในงานอุโมงค์ โดยในการออกแบบได้คำนึงถึงราคาต้นทุน และความสามารถในการตรวจวัดที่จะต้องเพียงพอต่อการใช้งาน อย่างไรก็ตามเครื่องมือดังกล่าวสามารถประยุกต์ใช้สำหรับตรวจวัดการทรุดตัวในงานวิศวกรรมธรณีเทคนิคอื่นๆได้ด้วย เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นเป็นเครื่องมือระบบไฮดรอลิก ทำงานโดยการวัดการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำในแนวดิ่ง การวัดค่าการทรุดตัวของเครื่องมือจะให้ได้เฉพาะค่าระดับสัมพัทธ์ (Relative Elevation) ระหว่างจุด 2 จุดเท่านั้น (จุดอ้างอิงกับจุดที่ต้องการทราบค่าการทรุดตัว) หากต้องการทราบค่าทรุดตัวสมบูรณ์ จะต้องทำการวัดค่าระดับของจุดอ้างอิงด้วย เครื่องมือที่พัฒนามีคุณสมบัติดังนี้ ความละเอียด (Resolution) = 0.015 มม. ความถูกต้องของระบบ (System Accuracy) = 0.10 มม. พิสัย (Range) = 30 มม. เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องมือที่นำเข้าจากต่างประเทศ พบว่าเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นสามารถวัดได้ในช่วงที่แคบกว่าทั้งนี้เนื่องจากเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นนั้นวัดการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำ ช่วงของการวัดจึงจำกัดอยู่เท่ากับความสูงของอุปกรณ์ ส่วนเครื่องมือจากต่างประเทศวัดการเปลี่ยนแปลงของแรงดันน้ำ ดังนั้นจึงวัดได้ในช่วงที่กว้างกว่าขนาดของอุปกรณ์เอง สำหรับความละเอียดนั้น เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีความละเอียดมากกว่าเครื่องมือที่นำเข้าจากต่างประเทศเนื่องจากทำงานในช่วงที่แคบกว่า และหากพิจารณาทางด้านราคาพบว่าเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีราคาถูกกว่าประมาณ 15 เท่าen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to develop an instrument for settlement monitoring in tunnels. However the instrument can be adapted to other geotechnical work. The instrument measures the relative elevation between two points. Therefore, the measurement must be referred to the elevation of the benchmark in order to obtains the absolute settlement. The resolution, accuracy and range of instrument are 0.015 mm, 0.10 mm, and 30 mm respectively. By comparison with a commercial sensor, the developed one has narrower range because of the difference in design. Since the commercial one measures the change of pressure not the surface level of the fluid, the range of measurement is not limited to the height of casing. The developed instrument has a better resolution because of its smaller range. As the developed sensor costs 15 times lower than the commercial one, it can be considered as a cost choice for settlement monitoring works.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.907-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นดินทรุด -- การเฝ้าติดตามการทำงาน -- เครื่องมือและอุปกรณ์en_US
dc.subjectอุโมงค์ -- การเฝ้าติดตามการทำงาน -- เครื่องมือและอุปกรณ์en_US
dc.subjectSubsidences (Earth movements) -- Monitoring -- Equipment and suppliesen_US
dc.subjectTunnels -- Monitoring -- Equipment and suppliesen_US
dc.titleการพัฒนาระบบการตรวจวัดการทรุดตัวของอุโมงค์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of tunnel settlement monitoring systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisortirawat.b@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.907-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwit_th.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.