Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35849
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีระพันธุ์ พูลพัฒน์ | - |
dc.contributor.advisor | นงลักษณ์ วิรัชชัย | - |
dc.contributor.author | นิสิตา อยู่อำไพ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-09-09T02:16:50Z | - |
dc.date.available | 2013-09-09T02:16:50Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35849 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ผลการสังเคราะห์งานวิจัยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของเด็กอนุบาล ดำเนินการวิจัยเป็น 3 ระยะคือ ระยะเตรียมข้อมูลในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ระยะพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ผลการสังเคราะห์งานวิจัยที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของเด็กอนุบาล และระยะทดสอบคุณภาพรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ ได้แก่ เด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 มีอายุระหว่าง 5-6 ปี จำนวน 72 คน จาก 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 36 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทีซีที-ดีพี (TCT-DP: Test for creative thinking-drawing production) ของ Jellen และ Urban วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (repeated measures ANOVA) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปรพหุนาม (MANOVA) ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นสำรวจความเป็นไปได้ ขั้นการแก้ปัญหา ขั้นแบ่งปันประสบการณ์ และขั้นการจัดนิทรรศการ 2) เด็กอนุบาลกลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น มีพัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในระยะที่ 2 สูงกว่าระยะที่ 1 และระยะที่ 3 สูงกว่าระยะที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีระดับความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าเด็กอนุบาลกลุ่มควบคุมโดยแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลการทดสอบประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 84.16/76.04 และมีค่าขนาดอิทธิพลของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นเท่ากับ 2.963 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research and development (R and D) was to develop an instructional model to enhance creative thinking of kindergarteners using research systhesis results. The research participants for comparing creative thinking were 72 kindergartens children ages 5 to 6 years. (36 in an experimental group, 36 in a control group). The TCT-DP: Test for Creative Thinking-Drawing Production - by Jellen and Urban was employed to measure kindergartener’s creative thinking. Data were analyzed using descriptive statistics, repeated measures ANOVA, and multivariate analysis of variance (MANOVA). The research findings were as followed: 1) The instructional model using research synthesis results to enhance creative thinking of kindergarteners consisted of a four-stage learning process: (a) Exploring the possibilities; (b) Creative problem solving; (c) Sharing experiences; and (d) Organizing an exhibition. 2) Creative thinking development of kindergarteners from experimental group in period 2 was higher than the development in period 1, and the development in period 3 was higher than the development in period 2 at the .05 level. Analysis results also revealed that creative thinking of the experimental group had a statistically significant difference at .05 which were higher than those of the control group. 3) The efficiency E1/E2 of instructional model using research synthesis results to enhance creative thinking of kindergarteners was 84.16/76.04 and the effect size was 2.963. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.632 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ระบบการเรียนการสอน | en_US |
dc.subject | ความคิดสร้างสรรค์ในเด็ก | en_US |
dc.subject | การศึกษาปฐมวัย | en_US |
dc.subject | Instructional systems | en_US |
dc.subject | Creative thinking in children | en_US |
dc.subject | Early childhood education | en_US |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ผลการสังเคราะห์งานวิจัยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของเด็กอนุบาล | en_US |
dc.title.alternative | Development of an instructional model using research synthesis results to enhance creative thinking of kindergarteners | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | การศึกษาปฐมวัย | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Cheerapan.B@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Nonglak.W@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.632 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
nisita_yo.pdf | 4.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.